ยูโทเปีย หรือ อุตมรัฐ (อังกฤษ: utopia) โดยทั่วไปแล้วจะอธิบายถึงชุมชนหรือสังคมในจินตนาการที่มีคุณสมบัติที่เป็นที่ต้องการอย่างยิ่งหรือเกือบสมบูรณ์แบบสำหรับสมาชิกในสังคมเซอร์ทอมัส มอร์ เป็นผู้คิดคำขึ้นจากหนังสือ ยูโทเปีย ในปี ค.ศ. 1516 ซึ่งบรรยายถึงสังคมเกาะสมมติแห่งหนึ่งในโลกใหม่
ยูโทเปียในเชิงสมมติฐานมุ่งเน้นไปที่ความเท่าเทียมกันในด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐบาล และความยุติธรรม โดยวิธีการและโครงสร้างของการดำเนินการที่เสนอจะแตกต่างกันไปตามอุดมการณ์ ไลแมน ทาวเวอร์ ซาร์เจนต์โต้แย้งว่าธรรมชาติของสังคมอุดมคติมีความขัดแย้งในตัวเอง เนื่องจากสังคมไม่ได้ เป็นเนื้อเดียวกัน และมีความปรารถนาที่ขัดแย้งกัน และไม่สามารถตอบสนองได้ในเวลาเดียวกัน
สิ่งที่ตรงข้ามกับยูโทเปีย คือ ดิสโทเปีย นวนิยายแนวยูโทเปียและดิสโทเปีย ถือเป็นประเภทวรรณกรรมที่ได้รับความนิยม แนวคิดยูโทเปียก็ได้แรงบันดาลใจและได้รับแรงบันดาลใจจากแขนงอื่น ๆ และแนวคิดที่อิงตามความเป็นจริง เช่น สถาปัตยกรรม การแบ่งปันไฟล์ เครือข่ายสังคม รายได้พื้นฐาน ชุมชน พรมแดนเปิด และแม้แต่ฐานทัพโจรสลัด
อ้างอิง
- (2003). "Utopian thinking under the sign of neoliberalism: Towards a critical pedagogy of educated hope" (PDF). . . 9 (1): 91–105. doi:10.1080/1085566032000074968. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-05. สืบค้นเมื่อ 2018-03-11.
- Giroux, H. (2003). "Utopian thinking under the sign of neoliberalism: Towards a critical pedagogy of educated hope". Democracy & Nature. 9 (1): 91–105. doi:10.1080/1085566032000074968.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yuothepiy hrux xutmrth xngkvs utopia odythwipaelwcaxthibaythungchumchnhruxsngkhmincintnakarthimikhunsmbtithiepnthitxngkarxyangyinghruxekuxbsmburnaebbsahrbsmachikinsngkhmesxrthxms mxr epnphukhidkhakhuncakhnngsux yuothepiy inpi kh s 1516 sungbrryaythungsngkhmekaasmmtiaehnghnunginolkihm yuothepiyinechingsmmtithanmungennipthikhwamethaethiymknindantang echn esrsthsastr rthbal aelakhwamyutithrrm odywithikaraelaokhrngsrangkhxngkardaeninkarthiesnxcaaetktangkniptamxudmkarn ilaemn thawewxr sarecntotaeyngwathrrmchatikhxngsngkhmxudmkhtimikhwamkhdaeyngintwexng enuxngcaksngkhmimid epnenuxediywkn aelamikhwamprarthnathikhdaeyngkn aelaimsamarthtxbsnxngidinewlaediywkn singthitrngkhamkbyuothepiy khux disothepiy nwniyayaenwyuothepiyaeladisothepiy thuxepnpraephthwrrnkrrmthiidrbkhwamniym aenwkhidyuothepiykidaerngbndalicaelaidrbaerngbndaliccakaekhnngxun aelaaenwkhidthixingtamkhwamepncring echn sthaptykrrm karaebngpnifl ekhruxkhaysngkhm rayidphunthan chumchn phrmaednepid aelaaemaetthanthphocrsldxangxing 2003 Utopian thinking under the sign of neoliberalism Towards a critical pedagogy of educated hope PDF 9 1 91 105 doi 10 1080 1085566032000074968 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 12 05 subkhnemux 2018 03 11 Giroux H 2003 Utopian thinking under the sign of neoliberalism Towards a critical pedagogy of educated hope Democracy amp Nature 9 1 91 105 doi 10 1080 1085566032000074968