บทความนี้ไม่มีจาก |
รองศาสตราจารย์ ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย (31 ตุลาคม 2516 - ปัจจุบัน) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมี ประจำปี พ.ศ. 2548 โดยมีผลงานวิจัยทางด้านเคมีเชิงฟิสิกส์ ซึ่งเกี่ยวกับการนำหลักการของกลศาสตร์ควอนตัมมาศึกษาสมบัติพื้นฐานของโมเลกุลโดยใช้คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง
ประวัติการศึกษา
รองศาสตราจารย์ ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย หรือ รองศาสตราจารย์ ดร. ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนวิบูลย์เสรีวิทยา มัธยมศึกษา จากโรงเรียนทวีธาภิเศก ในระหว่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนเยาวชนไทยไปแข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (สาขาฟิสิกส์) 2007-06-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เมื่อ ปี พ.ศ. 2533 ที่เมืองโกรนิงเกน ประเทศเนเธอร์แลนด์ และเลือกเรียนคณะวิทยาศาสตร์ ทั้งที่สอบได้คะแนนสูงสุดของมหาวิทยาลัย และสามารถเข้าเรียนแพทย์ได้
จบปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2538 หลังจากนั้นได้บรรจุเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และรับทุนพัฒนาอาจารย์จากทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขาเคมีทฤษฎี ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศสหราชอาณาจักร จนจบปริญญาเอก เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยทำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อ "การศึกษาสารประกอบเชิงซ้อนที่ยึดจับกันอย่างอ่อน" (Theoretical studies of weakly bound complexes) โดยมี Professor A.D. Buckingham, F.R.S เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และได้รับทุนสนับสนุนจาก German Academic Exchange Services (DAAD) เพื่อเข้าอบรมโครงการ 37th International Seminar on Research and Teaching in Physical Chemistry and Chemical Engineering ณ มหาวิทยาลัย Karlsruhe ประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน
ประวัติการทำงาน
- หัวหน้าหน่วยวิจัยเคมีเชิงคำนวณ (Computational Chemistry Research Unit) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
- รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี 2015-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
- หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- นักวิจัยประจำศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สวทช.
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี และนักวิจัยประจำหน่วยวิจัยพลังงานทางเลือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ประธานหลักสูตรบัณฑิตศึกษาเคมีเชิงฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานวิจัย
งานวิจัยของ รศ.ดร. ยุทธนา เกี่ยวข้องกับการประยุกต์การคำนวณเทคนิคทางเคมีควอนตัม เพื่อใช้ศึกษาสมบัติพื้นฐานของโมเลกุลและศึกษาอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุล ซึ่งความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติไฟฟ้าและแม่เหล็กของโมเลกุล มีความสำคัญมากต่อการพัฒนาองค์ความรู้ของระบบโครงสร้างระดับนาโนเมตร ในขณะที่ความเข้าใจเกี่ยวข้องกับอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุล ช่วยให้การพัฒนาออกแบบตัวยาและตัวเร่งปฏิกิริยาทางอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างมีเหตุผลมากขึ้น โดยได้มีการศึกษาถึงผลของสนามไฟฟ้าต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารโมเลกุลเล็ก เพื่อใช้อธิบายการจัดตัวของโครงสร้างเมื่อเข้าทำปฏิกิริยา ความสัมพันธ์ของโครงสร้างต่อการนำไฟฟ้าในโมเลกุล ผลของสนามแม่เหล็กจากโมเลกุลลักษณะเป็นวงแหวนต่อสมบัติแม่เหล็กของโมเลกุลที่วิ่งลอดผ่าน
งานวิจัยพื้นฐานทางเคมีเกี่ยวข้องกับระเบียบวิธี Density Functional Theory ที่ รศ.ดร. ยุทธนา ศึกษา ได้รับการอ้างถึงในหนังสือวิชาการนานาชาติ 2 เล่ม (Essentials of Computation Chemistry โดย C.J. Cramer และ A Chemist's Guide to Density Functional Chemistry โดย W. Koch & M.C. Holthausen)
เกียรติคุณและรางวัล
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาเคมี ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 2548
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2565 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
- พ.ศ. 2560 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
อ้างอิง
- ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๕, เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๖, ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๕๒, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir rxngsastracary yuththna tntirungorcnchy 31 tulakhm 2516 pccubn ecakhxngrangwlnkwithyasastrrunihm khxngmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi sakhaekhmi pracapi ph s 2548 odymiphlnganwicythangdanekhmiechingfisiks sungekiywkbkarnahlkkarkhxngklsastrkhwxntmmasuksasmbtiphunthankhxngomelkulodyichkhxmphiwetxrsmrrthnasungprawtikarsuksarxngsastracary yuththna tntirungorcnchy hrux rxngsastracary dr yuththna tntirungorcnchy cbkarsuksachnprathmsuksacakorngeriynwibulyesriwithya mthymsuksa cakorngeriynthwithaphiesk inrahwangchnmthymsuksapithi 6 idrbkhdeluxkepnphuaethneyawchnithyipaekhngkhnkhnitsastr withyasastroxlimpikrahwangpraeths sakhafisiks 2007 06 09 thi ewyaebkaemchchin emux pi ph s 2533 thiemuxngokrningekn praethsenethxraelnd aelaeluxkeriynkhnawithyasastr thngthisxbidkhaaennsungsudkhxngmhawithyaly aelasamarthekhaeriynaephthyid cbpriyyatriwithyasastrbnthit sakhaekhmi ekiyrtiniymxndbhnung cakkhnawithyasastr mhawithyalymhidl inpi 2538 hlngcaknnidbrrcuekharbrachkarepnxacarypracaphakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl aelarbthunphthnaxacarycakthbwngmhawithyaly ephuxsuksatxinradbpriyyaexk sakhaekhmithvsdi thimhawithyalyekhmbridc praethsshrachxanackr cncbpriyyaexk emuxpi ph s 2542 odythawithyaniphnthinhwkhx karsuksasarprakxbechingsxnthiyudcbknxyangxxn Theoretical studies of weakly bound complexes odymi Professor A D Buckingham F R S epnxacarythipruksa aelaidrbthunsnbsnuncak German Academic Exchange Services DAAD ephuxekhaxbrmokhrngkar 37th International Seminar on Research and Teaching in Physical Chemistry and Chemical Engineering n mhawithyaly Karlsruhe praethsshphnthrtheyxrmnprawtikarthanganhwhnahnwywicyekhmiechingkhanwn Computational Chemistry Research Unit phakhwichaekhmi khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalythrrmsastr sunyrngsit rxngsastracary phakhwichaekhmi 2015 12 21 thi ewyaebkaemchchin khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalythrrmsastr sunyrngsit hwhnaphakhwichaekhmi khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalythrrmsastr nkwicypracasunynaonethkhonolyiaehngchati swthch phuchwysastracary phakhwichaekhmi aelankwicypracahnwywicyphlngnganthangeluxk khnawithyasastr mhawithyalymhidl prathanhlksutrbnthitsuksaekhmiechingfisiks hlksutrnanachati bnthitwithyaly mhawithyalymhidlphlnganwicynganwicykhxng rs dr yuththna ekiywkhxngkbkarprayuktkarkhanwnethkhnikhthangekhmikhwxntm ephuxichsuksasmbtiphunthankhxngomelkulaelasuksaxntrkiriyarahwangomelkul sungkhwamekhaicekiywkbsmbtiiffaaelaaemehlkkhxngomelkul mikhwamsakhymaktxkarphthnaxngkhkhwamrukhxngrabbokhrngsrangradbnaonemtr inkhnathikhwamekhaicekiywkhxngkbxntrkiriyarahwangomelkul chwyihkarphthnaxxkaebbtwyaaelatwerngptikiriyathangxutsahkrrmepnipxyangmiehtuphlmakkhun odyidmikarsuksathungphlkhxngsnamiffatxkarepliynaeplngokhrngsrangkhxngsaromelkulelk ephuxichxthibaykarcdtwkhxngokhrngsrangemuxekhathaptikiriya khwamsmphnthkhxngokhrngsrangtxkarnaiffainomelkul phlkhxngsnamaemehlkcakomelkullksnaepnwngaehwntxsmbtiaemehlkkhxngomelkulthiwinglxdphan nganwicyphunthanthangekhmiekiywkhxngkbraebiybwithi Density Functional Theory thi rs dr yuththna suksa idrbkarxangthunginhnngsuxwichakarnanachati 2 elm Essentials of Computation Chemistry ody C J Cramer aela A Chemist s Guide to Density Functional Chemistry ody W Koch amp M C Holthausen ekiyrtikhunaelarangwlrangwlnkwithyasastrrunihm sakhaekhmi khxngmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi inphrabrmrachupthmph pracapi ph s 2548ekhruxngrachxisriyaphrnph s 2565 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnthi 1 prathmaphrnmngkudithy p m ph s 2560 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnthi 2 thwitiyaphrnchangephuxk th ch xangxingrachkiccanuebksa phrabrmrachoxngkar prakas eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2565 elm 140 txnphiess 1 kh hna 66 20 phvscikayn 2566 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chntakwasaysaphay pracapi 2560 elm 134 txnthi 52 kh hna 52 16 tulakhm 2560