เพ็ญ (เขมร: ពេញ, ออกเสียง "ปึญ") หรือรู้จักในชื่อ ยายเพ็ญ (ដូនពេញ, ออกเสียง "โฎนปึญ") เป็นนามของหญิงชรา ที่ปรากฏในนิทานเรื่อง ภูเขายายเพ็ญ อันเป็นตำนานการสร้างกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน
เพ็ญ | |
---|---|
รูปปั้นยายเพ็ญที่วัดพนม |
ประวัติ
ในนิทานเรื่อง ภูเขายายเพ็ญ (ភ្ដូយាយពេញ, ออกเสียง "ภนุมเยียปึญ") ระบุว่ายายเพ็ญเป็นหญิงชราผู้มั่งมี ตั้งเรือนอยู่ริม จนวันหนึ่งในฤดูน้ำหลากของ พ.ศ. 1919 มีต้นตะเคียนต้นใหญ่ลอยมาติดที่ท่าหน้าบ้าน หลังจากนั้นยายเพ็ญจึงให้คนช่วยกันลากต้นตะเคียนใหญ่ขึ้นฝั่งได้ ขณะยายเพ็ญกำลังล้างทำความสะอาดต้นตะเคียนก็พบว่ามีพระพุทธรูปและเทวรูปอยู่ในโพรงต้นตะเคียน โดยเป็นพระพุทธรูปขนาดเล็กสี่องค์ และเทวรูปจากหินอีกหนึ่งองค์ มีพระเกศมุ่นมวย ลักษณะยืน พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือกระบอง และพระหัตถ์อีกข้างถือสังข์ เมื่อเป็นเช่นนั้น ยายเพ็ญจึงขอแรงชาวบ้านช่วยกันถมดินบริเวณหลังบ้านของนางให้สูงเป็นภูเขาขนาดย่อมสำหรับสร้างวัดเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปไว้บนภูเขานั้น ส่วนเทวรูปอัญเชิญไว้บนแท่นบริเวณเชิงเขา และเรียกชื่อว่าเนียะตาพระเจ้า เมื่อสร้างเสร็จจึงเรียกภูเขานี้ว่า เขายายเพ็ญ หรือสำเนียงเขมรว่า ภนุมโฎนปึญ (ភ្ដូនពេញ) ต่อมาคำกร่อนลงเหลือเพียง ภนุมปึญ หรือที่ไทยเรียกว่าพนมเปญ ส่วนวัดภนุมโฎนปึญ ก็กร่อนเหลือเพียงวัดภนุม หรือพนมมาจนถึงปัจจุบัน
ขณะที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเขียนนิทานดังกล่าวลงในพระนิพนธ์เรื่อง นิราสนครวัด (2468) ไว้ว่า "...พระธาตุพนมเพ็ญนั้น เขาบอกเรื่องตำนานว่า เดิมทีเดียวมียายแก่คนหนึ่งชื่อ เพ็ญ ตั้งบ้านเรือนอยู่ในตำบลนั้น มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระสาสนาแก่กล้า ปรารถนาจะสร้างวัด แต่ขัดข้องด้วยยากจน จึงตั้งสัตย์อธิษฐาน โดยอำนาจกุศลผลบุญของยายเพ็ญ บันดาลให้มีไม้ซุงลอยลำน้ำโขงมาติดอยู่ที่ตรงนั้น มีทั้งพระพุทธรูปแลเทวรูปอยู่ในโพรงไม้ซุง ยายเพ็ญจึงได้ไม้ได้พระ แล้วได้กำลังสร้าง "พนม" คือภูเขาขึ้นในที่นั้น ภูเขานั้นจึงได้ชื่อว่าพนมเพ็ญ ถ้าจะเรียกเปนภาษาไทยก็เห็นจะเรียกว่า "เขายายเพ็ง" ครั้นมาสร้างเมืองขึ้นเมื่อภายหลัง คนทั้งหลายจึงเรียกชื่อเมืองตามชื่อภูเขาอันเปนสิ่งสำคัญอยู่ในท้องที่ ว่าเมืองพนมเพ็ญ ดังนี้..."
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-08. สืบค้นเมื่อ 2021-04-03.
- สุวชัญ ชาญเชี่ยว. การศึกษาวิเคราะห์ "ศาสตรากระบวนทาย" จากราชอาณาจักรกัมพูชา. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2557, หน้า 15-16
- ประยูร ทรงศิลป์ และทรงธรรม ปานสกุณ (พฤษภาคม–สิงหาคม 2558). "แหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีในนิทานพื้นบ้านเขมร". Veridian E-Journal (8:2), หน้า 2627
- วรรณะ สอน และราชันย์ นิลวรรณาภา (สิงหาคม 2563). "ปรอ จุม เรือง เพรง แขมร์ ภาพแทนธรรมชาติในนิทานพื้นบ้านเขมร". วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ (5:8), หน้า 200
- ศานติ ภักดีคำ. เขมรสมัยหลังพระนคร. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 116
- พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิราสนครวัด. พระนคร : โสภณพิพรรฒนากร, 2468, หน้า 13
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ephy ekhmr ព ញ xxkesiyng puy hruxruckinchux yayephy ដ នព ញ xxkesiyng odnpuy epnnamkhxnghyingchra thipraktinnithaneruxng phuekhayayephy xnepntanankarsrangkrungphnmepy emuxnghlwngkhxngpraethskmphuchainpccubnephyruppnyayephythiwdphnmprawtiinnithaneruxng phuekhayayephy ភ ដ យ យព ញ xxkesiyng phnumeyiypuy rabuwayayephyepnhyingchraphumngmi tngeruxnxyurim cnwnhnunginvdunahlakkhxng ph s 1919 mitntaekhiyntnihylxymatidthithahnaban hlngcaknnyayephycungihkhnchwyknlaktntaekhiynihykhunfngid khnayayephykalnglangthakhwamsaxadtntaekhiynkphbwamiphraphuththrupaelaethwrupxyuinophrngtntaekhiyn odyepnphraphuththrupkhnadelksixngkh aelaethwrupcakhinxikhnungxngkh miphraeksmunmwy lksnayun phrahtthkhanghnungthuxkrabxng aelaphrahtthxikkhangthuxsngkh emuxepnechnnn yayephycungkhxaerngchawbanchwyknthmdinbriewnhlngbankhxngnangihsungepnphuekhakhnadyxmsahrbsrangwdephuxpradisthanphraphuththrupiwbnphuekhann swnethwrupxyechiyiwbnaethnbriewnechingekha aelaeriykchuxwaeniyataphraeca emuxsrangesrccungeriykphuekhaniwa ekhayayephy hruxsaeniyngekhmrwa phnumodnpuy ភ ដ នព ញ txmakhakrxnlngehluxephiyng phnumpuy hruxthiithyeriykwaphnmepy swnwdphnumodnpuy kkrxnehluxephiyngwdphnum hruxphnmmacnthungpccubn khnathismedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph thrngekhiynnithandngklawlnginphraniphntheruxng nirasnkhrwd 2468 iwwa phrathatuphnmephynn ekhabxkeruxngtananwa edimthiediywmiyayaekkhnhnungchux ephy tngbaneruxnxyuintablnn mikhwamsrththaeluxmisinphrasasnaaekkla prarthnacasrangwd aetkhdkhxngdwyyakcn cungtngstyxthisthan odyxanackuslphlbuykhxngyayephy bndalihmiimsunglxylanaokhngmatidxyuthitrngnn mithngphraphuththrupaelethwrupxyuinophrngimsung yayephycungidimidphra aelwidkalngsrang phnm khuxphuekhakhuninthinn phuekhanncungidchuxwaphnmephy thacaeriykepnphasaithykehncaeriykwa ekhayayephng khrnmasrangemuxngkhunemuxphayhlng khnthnghlaycungeriykchuxemuxngtamchuxphuekhaxnepnsingsakhyxyuinthxngthi waemuxngphnmephy dngni xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 01 08 subkhnemux 2021 04 03 suwchy chayechiyw karsuksawiekhraah sastrakrabwnthay cakrachxanackrkmphucha xublrachthani mhawithyalyxublrachthani 2557 hna 15 16 prayur thrngsilp aelathrngthrrm panskun phvsphakhm singhakhm 2558 aehlngprawtisastraelaobrankhdiinnithanphunbanekhmr Veridian E Journal 8 2 hna 2627 wrrna sxn aelarachny nilwrrnapha singhakhm 2563 prx cum eruxng ephrng aekhmr phaphaethnthrrmchatiinnithanphunbanekhmr warsarsngkhmsastraelamanusywithyaechingphuthth 5 8 hna 200 santi phkdikha ekhmrsmyhlngphrankhr krungethph mtichn 2556 hna 116 phraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph nirasnkhrwd phrankhr osphnphiphrrthnakr 2468 hna 13 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk