เซอร์มูฮัมมัด อิกบาล (อังกฤษ: Muhammad Iqbal) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1877 - 21 เมษายน ค.ศ. 1938) มักเรียกว่า อัลลามา อิกบาล เป็นกวีและนักปรัญชาเกิดในเซียลคอต ซึ่งขณะนั้นอยู่ในแคว้นปัญจาบ บริติชอินเดีย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน อิกบาล ผู้เขียนบทกวีในภาษาอุรดูและภาษาเปอร์เซีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ (icon) ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยใหม่
มูฮัมมัด อิกบาล | |
---|---|
เกิด | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2420 เซียลคอต บริติชอินเดีย ( ปากีสถานในปัจจุบัน) |
เสียชีวิต | 21 เมษายน พ.ศ. 2481 ลาฮอร์ ปัญจาบ บริติชอินเดีย (จังหวัดปัญจาบ ปากีสถานในปัจจุบัน) |
มีชื่อเสียงจาก | การเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ และแบ่งแยกประเทศปากีสถานออกจากอินเดีย |
หลังศึกษาในอังกฤษและเยอรมนี อิกบาลได้ทำงานด้านกฎหมาย แต่ยังมุ่งสนใจงานเขียนผลงานเชิงวิชาการว่าด้วยการเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนาเป็นหลัก ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเป็นงานด้านบทกวี
อิกบาลเป็นผู้เสนอการฟื้นฟูอารยธรรมอิสลามทั่วโลกอย่างแข็งขัน แต่โดยเฉพาะยอ่างยิ่งในอินเดีย เขาเป็นหนึ่งในผู้นำที่โดดเด่นของสันนิบาติมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) และสนับสนุนการสถาปนา "รัฐในทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียสำหรับมุสลิมชาวอินเดีย" ในการปราศรัยประธานาธิบดีใน ค.ศ. 1930 แนวคิดดังกล่าวได้ชื่อว่า ทฤษฎีสองชาติ วันคล้ายวันเกิดของเขา ซึ่งตรงกับวันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันหยุดในปากีสถาน
ชีวิตวัยเด็ก
อิกบาลเกิดเมื่อ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2420 ที่แคว้นกัษมีระ บิดาชื่อเชค นูรมุฮัมมัด อาชีพช่างตัดเสื้อ กับมารดาชื่ออิมามบีบี ต้นตระกูลเดิมเป็นพราหมณ์ แล้วเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามภายหลัง ในวัยเด็กเติบโตมาในครอบครัวที่นับถือศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด ได้เรียนทั้งภาษาเปอร์เซียและภาษาอังกฤษ
เมื่อเรียนจบหลักสูตรพื้นฐานได้รับทุนเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยมิชชันนารีของชาวสกอตแลนด์ จน พ.ศ. 2448 ได้เดินทางสู่ยุโรป และเข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และเรียนต่อจนจบปริญญาเอกที่เมืองมิวนิก หลังจากเรียนจบ ท่านได้เดินทางกลับสู่บ้านเกิด
ผลงาน
อิกบาลเป็นผู้มีความสามารถทางด้านภาษา เรียนภาษาเยอรมันจนกระทั่งอ่านออกเขียนได้ภายใน 2 เดือน เขียนบทกวีด้วยภาษาอูรดู และเขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงด้วยภาษาเปอร์เซียอีกหลายเล่ม
ทางด้านการเมือง พ.ศ. 2457 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติของรัฐปัญจาบ พ.ศ. 2474 เป็นคณะผู้แทนชาวมุสลิมไปร่วมประชุมที่ลอนดอนซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการต่อสู้เพื่อแยกปากีสถานออกจากอินเดีย อิกบาลได้ทุ่มเทการทำงานเพื่อแยกปากีสถาน จนสุขภาพทรุดโทรมและเสียชีวิตเมื่อ 21 เมษายน พ.ศ. 2481 ก่อนที่ฝันของท่านจะเป็นจริงถึง 10 ปี
สุสาน
สุสานของอิกบาลตั้งอยู่ทางด้านหน้าของ ก่อด้วยหินอ่อนอย่างงดงาม มีชาวปากีสถานเข้าไปเคารพศพของท่านไม่ขาด ในฐานะกวี และผู้ต่อสู้เพื่อประเทศปากีสถาน
อ้างอิง
- Anil Bhatti. (PDF). Yearbook of the Goethe Society of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-30. สืบค้นเมื่อ 28 March 2011.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - "Sir Muhammad Iqbal's 1930 Presidential Address". Speeches, Writings, and Statements of Iqbal. สืบค้นเมื่อ 2006-12-19.
- ภาณุ มณีวัฒนกุล. อินชา อัลลอฮ์ ตามประสงค์ของพระเจ้า. กทม. openbooks.2550. หน้า 116-117
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esxrmuhmmd xikbal xngkvs Muhammad Iqbal 9 phvscikayn kh s 1877 21 emsayn kh s 1938 mkeriykwa xllama xikbal epnkwiaelankprychaekidinesiylkhxt sungkhnannxyuinaekhwnpycab britichxinediy sungpccubnxyuinpakisthan xikbal phuekhiynbthkwiinphasaxurduaelaphasaepxresiy thukmxngwaepnhnunginbukhkhlthiepnsylksn icon phuyingihythisudinsmyihmmuhmmd xikbalekid9 phvscikayn ph s 2420 esiylkhxt britichxinediy pakisthaninpccubn esiychiwit21 emsayn ph s 2481 lahxr pycab britichxinediy cnghwdpycab pakisthaninpccubn michuxesiyngcakkareriykrxngexkrachcakxngkvs aelaaebngaeykpraethspakisthanxxkcakxinediy hlngsuksainxngkvsaelaeyxrmni xikbalidthangandankdhmay aetyngmungsnicnganekhiynphlnganechingwichakarwadwykaremuxng esrsthsastr prawtisastr prchyaaelasasnaepnhlk phlnganthithaihekhaepnthiruckknmakthisudepnngandanbthkwi xikbalepnphuesnxkarfunfuxarythrrmxislamthwolkxyangaekhngkhn aetodyechphaayxangyinginxinediy ekhaepnhnunginphunathioddednkhxngsnnibatimuslimthwxinediy All India Muslim League aelasnbsnunkarsthapna rthinthangtawntkechiyngehnuxkhxngxinediysahrbmuslimchawxinediy inkarprasryprathanathibdiin kh s 1930 aenwkhiddngklawidchuxwa thvsdisxngchati wnkhlaywnekidkhxngekha sungtrngkbwnthi 9 phvscikayn epnwnhyudinpakisthanchiwitwyedkxikbalekidemux 9 phvscikayn ph s 2420 thiaekhwnksmira bidachuxechkh nurmuhmmd xachiphchangtdesux kbmardachuxximambibi tntrakuledimepnphrahmn aelwepliynmanbthuxsasnaxislamphayhlng inwyedketibotmainkhrxbkhrwthinbthuxsasnaxislamxyangekhrngkhrd ideriynthngphasaepxresiyaelaphasaxngkvs emuxeriyncbhlksutrphunthanidrbthunekhasuksatxinwithyalymichchnnarikhxngchawskxtaelnd cn ph s 2448 idedinthangsuyuorp aelaekhasuksathimhawithyalyekhmbridc aelaeriyntxcncbpriyyaexkthiemuxngmiwnik hlngcakeriyncb thanidedinthangklbsubanekidphlnganxikbalepnphumikhwamsamarththangdanphasa eriynphasaeyxrmncnkrathngxanxxkekhiynidphayin 2 eduxn ekhiynbthkwidwyphasaxurdu aelaekhiynhnngsuxthimichuxesiyngdwyphasaepxresiyxikhlayelm thangdankaremuxng ph s 2457 idrbkaraetngtngepnsmachiksphanitibyytikhxngrthpycab ph s 2474 epnkhnaphuaethnchawmuslimiprwmprachumthilxndxnsungepncuderimtnkhxngkartxsuephuxaeykpakisthanxxkcakxinediy xikbalidthumethkarthanganephuxaeykpakisthan cnsukhphaphthrudothrmaelaesiychiwitemux 21 emsayn ph s 2481 kxnthifnkhxngthancaepncringthung 10 pisusansusankhxngxikbaltngxyuthangdanhnakhxng kxdwyhinxxnxyangngdngam michawpakisthanekhaipekharphsphkhxngthanimkhad inthanakwi aelaphutxsuephuxpraethspakisthanxangxingAnil Bhatti PDF Yearbook of the Goethe Society of India khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 10 30 subkhnemux 28 March 2011 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Sir Muhammad Iqbal s 1930 Presidential Address Speeches Writings and Statements of Iqbal subkhnemux 2006 12 19 phanu mniwthnkul xincha xllxh tamprasngkhkhxngphraeca kthm openbooks 2550 hna 116 117