บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
มัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลาง ในศาสนาพุทธ หมายถึง การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามในความสบาย พระพุทธเจ้าทรงกำหนดหลักทางสายกลางนี้ไว้ชัดเจน คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เมื่อย่นย่อแล้ว เรียก "ไตรสิกขา" ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
มัชฌิมาปฏิปทาหมายถึงการปฏิบัติสายกลาง ซึ่งเป็นหลักจริยธรรมย่อมต้องคู่กับหลักสัจจธรรมอันเป็นสายกลางเช่นกัน โดยที่หลักสัจจธรรมอันเป็นสายกลางนี้เรียกว่ามัชเฌนธรรม หรือหลักทฤษฎีที่ว่าด้วยความสมดุล
มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปในทางอุดมการณ์ใดอุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา มักไม่ยึดถือหลักการอย่างงมงาย
มัชฌิมาปฏิปทาในทางจิตวิญญาณหมายถึงสติ สติเป็นความสมดุลทางจิตอย่างหนึ่ง คือสมดุลระหว่างศรัทธาและปัญญา สติจะอยู่ตรงกลางระหว่างอารมณ์และเหตุผล ถ้าความคิดเปรียบเป็นน้ำไหล สมาธิเปรียบเป็นน้ำนิ่ง สติจะเป็นน้ำไหลนิ่ง สติเป็นทางสายกลางทางจิตวิญญาณ
มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง หมายถึง ความสมดุล ความเหมาะสม ความเสมอ ความพอดี ซึ่งเป็นความประสานสอดคล้องกันระหว่างข้อปฏิบัติปลีกย่อยต่าง ๆ ที่มาประชุมกันร่วมกันทำงาน ข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนาจะต้องมีสมตาคือความสมดุล ซึ่งเป็นความพอดีชนิดหนึ่ง เป็นชื่อเรียกสติอีกอย่างหนึ่ง เช่นความสมดุลระหว่างวิริยะกับสมาธิ และความพอดีระหว่างศรัทธากับปัญญา โดยมีสติเป็นเครื่องควบคุม
มัชฌิมาปฏิปทา ใช้ในความหมายอีกอย่างหนึ่งว่า มัตตัญญุตา คือ ความรู้จักประมาณ หรือรู้จักพอดีในการปฏิบัติต่าง ๆ โดยทั่วไป หรือรู้จักพอดีที่เป็นหลักกลาง ๆ เช่น จะรับประทานอาหารก็ต้องมีความรู้จักประมาณ รู้จักพอดีในอาหาร ถ้ารับประทานอาหารไม่พอดีก็เกิดโทษแก่ร่างกาย แทนที่จะได้สุขภาพ แทนที่จะได้กำลัง ก็อาจจะเสียสุขภาพ และอาจจะทอนกำลังทำให้อ่อนแอลงไป หรือเกิดโรค เพราะฉะนั้นท่านจึงสอนให้มีความรู้จักประมาณในการบริโภค เรียกว่า โภชเนมัตตัญญุตา
จะเห็นว่าหลักพระพุทธศาสนาในทุกระดับมีเรื่องของความพอดี หรือความเป็นสายกลางนี้ ฉะนั้นความเป็นสายกลาง คือ ความพอดีที่จะให้ถึงจุดหมาย และที่จะให้ตรงกับความจริง ไม่ให้ไปสุดโต่ง เอียงสุด ซึ่งจะพลาดจากตัวความจริงไปนั้น จึงเป็นลักษณะทั่วไปอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นสายกลางทั้งหลักทฤษฎี (มัชเฌนธรรม) และหลักการปฏิบัติ (มัชฌิมาปฏิปทา)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- อุปาทิยสูตร มัญญมานสูตร อภินันทมานสูตร ขันธ. สํ. (๑๓๙, ๑๔๐ ,๑๔๑)
- ตบ. ๑๗ : ๙๑-๙๔ ตท. ๑๗ : ๗๙-๘๒
- ตอ. K.S. ๓ : ๖๔-๖๕
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki mchchimaptipthahruxthangsayklang insasnaphuthth hmaythung karimyudthuxsudthangthng 2 idaek xttkilmthanuoykh khux karprakxbtnexngihlabakekinip kamsukhllikanuoykh khux karphwphninkaminkhwamsbay phraphuththecathrngkahndhlkthangsayklangniiwchdecn khux xriymrrkhmixngkh 8 emuxynyxaelw eriyk itrsikkha idaek sil smathi pyya mchchimaptipthahmaythungkarptibtisayklang sungepnhlkcriythrrmyxmtxngkhukbhlksccthrrmxnepnsayklangechnkn odythihlksccthrrmxnepnsayklangnieriykwamchechnthrrm hruxhlkthvsdithiwadwykhwamsmdul mchchimaptiptha aeplwa thangsayklang hmaythung thangptibtithiimsudotngipinthangxudmkarnidxudmkarnhnungekinip mungennichpyyainkaraekpyha mkimyudthuxhlkkarxyangngmngay mchchimaptipthainthangcitwiyyanhmaythungsti stiepnkhwamsmdulthangcitxyanghnung khuxsmdulrahwangsrththaaelapyya sticaxyutrngklangrahwangxarmnaelaehtuphl thakhwamkhidepriybepnnaihl smathiepriybepnnaning sticaepnnaihlning stiepnthangsayklangthangcitwiyyan mchchimaptiptha thangsayklang hmaythung khwamsmdul khwamehmaasm khwamesmx khwamphxdi sungepnkhwamprasansxdkhlxngknrahwangkhxptibtiplikyxytang thimaprachumknrwmknthangan khxptibtitang inphraphuththsasnacatxngmismtakhuxkhwamsmdul sungepnkhwamphxdichnidhnung epnchuxeriykstixikxyanghnung echnkhwamsmdulrahwangwiriyakbsmathi aelakhwamphxdirahwangsrththakbpyya odymistiepnekhruxngkhwbkhum mchchimaptiptha ichinkhwamhmayxikxyanghnungwa mttyyuta khux khwamruckpraman hruxruckphxdiinkarptibtitang odythwip hruxruckphxdithiepnhlkklang echn carbprathanxaharktxngmikhwamruckpraman ruckphxdiinxahar tharbprathanxaharimphxdikekidothsaekrangkay aethnthicaidsukhphaph aethnthicaidkalng kxaccaesiysukhphaph aelaxaccathxnkalngthaihxxnaexlngip hruxekidorkh ephraachannthancungsxnihmikhwamruckpramaninkarbriophkh eriykwa ophchenmttyyuta caehnwahlkphraphuththsasnainthukradbmieruxngkhxngkhwamphxdi hruxkhwamepnsayklangni channkhwamepnsayklang khux khwamphxdithicaihthungcudhmay aelathicaihtrngkbkhwamcring imihipsudotng exiyngsud sungcaphladcaktwkhwamcringipnn cungepnlksnathwipxyanghnungkhxngphraphuththsasna sungepnsayklangthnghlkthvsdi mchechnthrrm aelahlkkarptibti mchchimaptiptha duephimsmtaxangxingxupathiysutr myymansutr xphinnthmansutr khnth s 139 140 141 tb 17 91 94 tth 17 79 82 tx K S 3 64 65 bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk