มลพิษทางดิน หรือการปนเปื้อนดิน (อังกฤษ: soil pollution) เกิดจากการมีสารเคมีที่มนุษย์สร้างหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นในสิ่งแวดล้อมดินธรรมชาติ ตรงแบบเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรม สารเคมีเกษตรกรรมหรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม สารเคมีที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ ไฮโดรคาร์บอนปิโตรเลียม พอลินิวเคลียร์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (เช่น แนฟทาลีนและ) ตัวทำละลาย ยาฆ่าแมลง ตะกั่วและโลหะหนักอื่น การปนเปื้อนสัมพันธ์กับระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมและระดับการใช้สารเคมี
สาเหตุ
มลพิษทางดินอาจเกิดจากสาเหตุต่อไปนี้
- การนำสารพิษลงดินโดยอุบัติเหตุ
- ฝนกรด (ซึ่งเกิดจากมลพิษทางอากาศ)
- เกษตรกรรมแบบเข้มข้น
- การทำลายป่า
- กากนิวเคลียร์
- อุบัติเหตุทางอุตสาหกรรม
- สถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยและการฝังกลบขยะอย่างมิชอบด้วยกฎหมาย
- การกร่อนของดิน
- วิธีการทางการเกษตร เช่น การใช้ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าวัชพืชและปุ๋ย
- การทำเหมืองและอุตสาหกรรมอื่น
- การทิ้งน้ำมันเชื้อเพลิง
- ขยะที่ถูกฝัง
- การทิ้งเถ้าถ่าน
- การทิ้งเครื่องกระสุนและยุทธภัณฑ์
- การชะน้ำพื้นผิวที่ปนเปื้อนลงดิน
- ขยะอิเล็กทรอนิกส์
- สารเคมี ซึ่งที่พบบ่อยที่สุด คือ ไฮโดรคาร์บอนปิโตรเลียม ตัวทำละลาย ตะกั่วและโลหะหนักอื่น
แบ่งตามประเทศ
มลพิษในดินที่เห็นได้ชัดเจน ดังนี้
จากการสำรวจดินโดย สำรวจพื้นที่สองในสามของจีน ประมาณ 10,000,0000 ตารางไมล์ พบว่า 99.1 % ของดินมีการปนเปื้อนโลหะหนัก20ตัน ซึ่งมีสาเหตุมาจากมลพิษจากอากาศเนื่องจากควันส่งผลต่อดิน นอกจากนี้ยังพบว่า 19.4% ของพื้นที่เพาะปลูกมีการปนเปื้อนในดิน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม ส่งผลให้มีการทิ้งกากอุตสาหกรรมสู่ดิน จึงเกิดการปนเปื้อน
ประเทศอินเดีย
ในปี 2012 มีการตรวจพบโลหะยูเรเนียม เกิน 50 % ในดินของประเทศอินเดีย ที่ภูมิภาคมัลวะ (Malwa) ซึ่งมีค่าเกินจากมาตรฐานขององค์การอนามัยโลกกำหนด ซึ่งสาเหตุมาจากมีการปล่อยยูเรเนียมลงสู่ดิน ทำให้เกิดการปนเปื้อน
ผลกระทบ
ผลต่อระบบนิเวศ
มลพิษทางดินมีผลเสียอย่างสำคัญต่อระบบนิเวศ มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของดินอย่างถึงรากซึ่งอาจเกิดจากการมีสารเคมีอันตรายหลายชนิดแม้มีสารนั้นในความเข้มข้นต่ำ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้สามารถแสดงออกเป็นการเปลี่ยนแปลงของเมแทบอลิซึมของจุลินทรีย์และสัตว์ขาปล้องประจำถิ่นในดินนั้น ๆ ส่งผลให้มีการกำจัดห่วงโซ่อาหารปฐมภูมิบางส่วน ซึ่งอาจมีผลลัพธ์ใหญ่หลวงต่อผู้ล่าหรือผู้บริโภคต่อไป ซึ่งผลกระทบภายในระบบนิเวศนั้นจะแบ่งได้เป็น 2 ส่วน จากสิ่งมีชีวิตที่มีการใช้ดินในการดำรงชีวิต ได้แก่
- ผลต่อพืชและโครงสร้างของดิน
พืชทุกชนิดต้องอาศัยดินในการเจริญเติบโตทั้งนั้น หากมีการปนเปื้อนในดิน ซึ่งสาเหตุหลักมาจากกิจกรรมทางการเกษตรของมนุษย์ เช่น การใช้ยาปรับศัตรูพืชชนิดแอมโมเนียมซัลเฟต แล้วละลายน้ำจะถูกเปลี่ยนเป็นไนเตรท ( Nitrate ) ส่งผลโดยตรงต่อการดูดซึมแร่ธาตุอาหารของพืชจากดิน จากเดิมพืชใช้รากดูดซึมอาหารจากดิน กลายเป็นรากดูดซึมสารพิษจากดินเข้าไปแทนที่ ทำให้พืชมีการเจริญเติบโตที่ช้าลง เกิดการตกค้างของสารพิษในพืช ส่งผลให้อัตราการสร้างคลอโรฟิลล์ลดลง ใบพืชแห้งเหี่ยว ไม่มีดอกไม่มีผล จำนวนพืชค่อยๆลดลง และตายไป เมื่อพืชตายไปทำให้ดินขาดความสมดุล สามารถเกิดการผุกร่อน และพังทะลายของหน้าดินได้โดยง่าย ทำให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์
- ผลต่อสัตว์และแบคทีเรียในดิน
สัตว์หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดิน เช่น ไส้เดือน มด แบคทีเรียต่างๆ เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่มีผลทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ดินที่มีการปนเปื้อนจะส่งผลต่อห่วงโซ่อาหารของสัตว์ดังกล่าว ทำให้สัตว์ไม่สามารถใช้ดินในการสร้างอาหารได้ ไม่สามารถย่อยแบคทีเรียได้ ส่งผลต่อกระบวนการเมทาบอลิซึม ทำให้สัตว์และแบคทีเรียค่อยๆตายไป ทำให้ดินขาดความอุดมสมบูณ์
การควบคุม
การจะแก้ปัญหาการปนเปื้อนในดินนั้นคงจะทำให้หายไปหมดสนิทในทุกจุดคงเป็นไปแทบจะไม่ได้ ดังนั้นการแก้ไขจึงเป็นการควบคุมให้เกิดการปนเปื้อนของโลหะหนักหรือสารมลพิษให้น้อยที่สุด เพื่อลดปัญหา ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
- ปลูกป่าทดแทน การปลูกต้นไม้นั้น เป็นการควบคุมที่สามารถทำได้ง่ายที่สุด ยิ่งหากปลูกต้นไม้ใหญ่เพื้อฟิ้นฟูสภาพดินนั้น ยิ่งสามารถทำได้ เพราะรากของต้นไม้จะช่วยฟื้นฟูและปรับสภาพโครงสร้างของดิน และทำให้พื้นที่บริเวณนั้นมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น
- ออกกฎหมายควบคุม ทางหน่วยงานของรัฐบาลได้มีการกำหนดกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติ เพื่อควบคุมปริมาณสารมลพิษในดินไม่ให้เกินมาตรฐาน
- Soil Flushing เป็นวิธีการบำบัดฟื้นฟูดินที่มีการปนเปื้อนด้วยสารอินทรีย์และที่สำคัญ โดยใช้หลักการการชะล้างด้วยสารละลายที่เหมาะสม เช่น น้ำ หรือ Surfactants โดยอาศัยคุณสมบัติในการละลาย (solubility) ของมลสารที่ต้องการกำจัด โดยสารปนเปื้อนที่ถูกชะล้างออกมานี้จะถูกเก็บรวบรวมเพื่อนำไปบำบัดอีกครั้ง
- การควบคุมแหล่งกำเนิดโดยตรง เป็นการแก้ไขที่สาเหตุโดยตรง เช่น
- การกำหนดพื้นที่ฝังกลบขยะให้ถูกต้อง เป็นหลักแหล่ง
- กำหนดสถานที่ในการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน
- ออกมาตรการควบคุมกิจกรรมทางการเกษตร เช่น การใช้ยาฆ่าแมลง เพื่อควบคุมปริมาณสารปนเปื้อนลงในดิน
- มีการนำดินที่เกิดการปนเปื้อนมาฟื้นฟูเพื่อนำกลับมาใช้อีกครั้ง
- มีการตรวจสอบสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินในบริเวณที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนอยู่เสมอ
อ้างอิง
- http://www.bbc.com/news/world-asia-china-27076645
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-09-27.
- http://www.conserve-energy-future.com/causes-and-effects-of-soil-pollution.php
- http://www.cpeo.org/techtree/ttdescript/soilflus.htm
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mlphisthangdin hruxkarpnepuxndin xngkvs soil pollution ekidcakkarmisarekhmithimnusysranghruxkarepliynaeplngxuninsingaewdlxmdinthrrmchati trngaebbekidcakkickrrmxutsahkrrm sarekhmiekstrkrrmhruxkarkacdkhxngesiyxyangimehmaasm sarekhmithiekiywkhxngmakthisud khux ihodrkharbxnpiotreliym phxliniwekhliyrxaormatikihodrkharbxn echn aenfthalinaela twthalalay yakhaaemlng takwaelaolhahnkxun karpnepuxnsmphnthkbradbkarphthnaxutsahkrrmaelaradbkarichsarekhmisaehtumlphisthangdinxacekidcaksaehtutxipni karnasarphislngdinodyxubtiehtu fnkrd sungekidcakmlphisthangxakas ekstrkrrmaebbekhmkhn karthalaypa kakniwekhliyr xubtiehtuthangxutsahkrrm sthanthifngklbkhyamulfxyaelakarfngklbkhyaxyangmichxbdwykdhmay karkrxnkhxngdin withikarthangkarekstr echn karichyakhaaemlng yakhawchphuchaelapuy karthaehmuxngaelaxutsahkrrmxun karthingnamnechuxephling khyathithukfng karthingethathan karthingekhruxngkrasunaelayuththphnth karchanaphunphiwthipnepuxnlngdin khyaxielkthrxniks sarekhmi sungthiphbbxythisud khux ihodrkharbxnpiotreliym twthalalay takwaelaolhahnkxunaebngtampraethsmlphisindinthiehnidchdecn dngni satharnrthprachachncin cakkarsarwcdinody sarwcphunthisxnginsamkhxngcin praman 10 000 0000 tarangiml phbwa 99 1 khxngdinmikarpnepuxnolhahnk20tn sungmisaehtumacakmlphiscakxakasenuxngcakkhwnsngphltxdin nxkcakniyngphbwa 19 4 khxngphunthiephaaplukmikarpnepuxnindin sungsaehtuswnihyekidcakkarkhyaytwkhxngxutsahkrrm sngphlihmikarthingkakxutsahkrrmsudin cungekidkarpnepuxn praethsxinediy inpi 2012 mikartrwcphbolhayuereniym ekin 50 indinkhxngpraethsxinediy thiphumiphakhmlwa Malwa sungmikhaekincakmatrthankhxngxngkhkarxnamyolkkahnd sungsaehtumacakmikarplxyyuereniymlngsudin thaihekidkarpnepuxnphlkrathbphltxrabbniews mlphisthangdinmiphlesiyxyangsakhytxrabbniews mikarepliynaeplngthangekhmikhxngdinxyangthungraksungxacekidcakkarmisarekhmixntrayhlaychnidaemmisarnninkhwamekhmkhnta karepliynaeplngehlanisamarthaesdngxxkepnkarepliynaeplngkhxngemaethbxlisumkhxngculinthriyaelastwkhaplxngpracathinindinnn sngphlihmikarkacdhwngosxaharpthmphumibangswn sungxacmiphllphthihyhlwngtxphulahruxphubriophkhtxip sungphlkrathbphayinrabbniewsnncaaebngidepn 2 swn caksingmichiwitthimikarichdininkardarngchiwit idaek phltxphuchaelaokhrngsrangkhxngdin phuchthukchnidtxngxasydininkarecriyetibotthngnn hakmikarpnepuxnindin sungsaehtuhlkmacakkickrrmthangkarekstrkhxngmnusy echn karichyaprbstruphuchchnidaexmomeniymsleft aelwlalaynacathukepliynepninetrth Nitrate sngphlodytrngtxkardudsumaerthatuxaharkhxngphuchcakdin cakedimphuchichrakdudsumxaharcakdin klayepnrakdudsumsarphiscakdinekhaipaethnthi thaihphuchmikarecriyetibotthichalng ekidkartkkhangkhxngsarphisinphuch sngphlihxtrakarsrangkhlxorfillldlng ibphuchaehngehiyw immidxkimmiphl canwnphuchkhxyldlng aelatayip emuxphuchtayipthaihdinkhadkhwamsmdul samarthekidkarphukrxn aelaphngthalaykhxnghnadinidodyngay thaihdinkhadkhwamxudmsmburn phltxstwaelaaebkhthieriyindin stwhruxsingmichiwitthixyuindin echn iseduxn md aebkhthieriytang epnxiksinghnungthimiphlthaihdinmikhwamxudmsmburn dinthimikarpnepuxncasngphltxhwngosxaharkhxngstwdngklaw thaihstwimsamarthichdininkarsrangxaharid imsamarthyxyaebkhthieriyid sngphltxkrabwnkaremthabxlisum thaihstwaelaaebkhthieriykhxytayip thaihdinkhadkhwamxudmsmbunkarkhwbkhumkarcaaekpyhakarpnepuxnindinnnkhngcathaihhayiphmdsnithinthukcudkhngepnipaethbcaimid dngnnkaraekikhcungepnkarkhwbkhumihekidkarpnepuxnkhxngolhahnkhruxsarmlphisihnxythisud ephuxldpyha sungsamarththaiddngni plukpathdaethn karpluktnimnn epnkarkhwbkhumthisamarththaidngaythisud yinghakpluktnimihyephuxfinfusphaphdinnn yingsamarththaid ephraarakkhxngtnimcachwyfunfuaelaprbsphaphokhrngsrangkhxngdin aelathaihphunthibriewnnnmikhwamxudmsmburnephimkhun xxkkdhmaykhwbkhum thanghnwyngankhxngrthbalidmikarkahndkdeknthinkarptibti ephuxkhwbkhumprimansarmlphisindinimihekinmatrthan Soil Flushing epnwithikarbabdfunfudinthimikarpnepuxndwysarxinthriyaelathisakhy odyichhlkkarkarchalangdwysarlalaythiehmaasm echn na hrux Surfactants odyxasykhunsmbtiinkarlalay solubility khxngmlsarthitxngkarkacd odysarpnepuxnthithukchalangxxkmanicathukekbrwbrwmephuxnaipbabdxikkhrng karkhwbkhumaehlngkaenidodytrng epnkaraekikhthisaehtuodytrng echnkarkahndphunthifngklbkhyaihthuktxng epnhlkaehlng kahndsthanthiinkarcdkarkakxutsahkrrmxyangchdecn xxkmatrkarkhwbkhumkickrrmthangkarekstr echn karichyakhaaemlng ephuxkhwbkhumprimansarpnepuxnlngindin mikarnadinthiekidkarpnepuxnmafunfuephuxnaklbmaichxikkhrng mikartrwcsxbsphaphkhwamxudmsmburnkhxngdininbriewnthiesiyngtxkarpnepuxnxyuesmxxangxinghttp www bbc com news world asia china 27076645 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux 2021 09 27 http www conserve energy future com causes and effects of soil pollution php http www cpeo org techtree ttdescript soilflus htm