บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ภูมิทัศน์เมือง แม้จะเป็นคำที่ไม่คุ้นเคยโดยทั่วไป หรือมักใช้กันเฉพาะในวิชาชีพทางสถาปัตยกรรม แต่ความหมาย และความเข้าใจนั้น เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว นั่นเป็นเพราะชีวิตผู้คนส่วนใหญ่ต่างดำรงชีพในสังคมเมืองที่ประสบพบเห็นความงามของเมืองจนชินตา อย่างไรก็ตามการสร้างความเข้าใจตามความหมาย และแนวคิดเกี่ยวกับภูมิทัศน์เมือง ย่อมช่วยให้เห็นคุณค่าของความงดงามของเมืองที่เกิดจากการใช้ธรรมชาติ และการสรรสร้างของมนุษย์ เพื่อปั้นแต่งเมืองแต่ละเมืองให้เกิดความสวยงามที่แตกต่างกัน คำว่า"ภูมิทัศน์เมือง" เป็นคำแปลที่มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า "Urban Landscape" หรือ "Townscape" ซึ่งเกิดจากการรวมกันของคำว่า Urban หรือ Town ที่แปลว่า "เมือง" ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงลักษณะพื้นที่เมืองที่ถูกล้อมรอบด้วยกำแพง หรือเป็นพื้นที่ในเขตรัศมีที่แยกตัวจากพื้นที่ชนบท และมีแบบแผนของการจัดองค์กรภายใน และคำว่า Landscape ที่แปลว่า "ภูมิทัศน์" หมายถึง การรับรู้สภาพแวดล้อมภูมิประเทศทั้งที่ปรากฏตามจริง และภาพลักษณ์ในจิตใจที่รู้สึกได้ (เกริก กิตติคุณ, ภูมิทัศน์เมือง, หน้า 1-2)
ความหมายภูมิทัศน์เมือง
การ์ดอน คัลเลน (Gordon Cullen, 1961, p. 8) สถาปนิกผู้ศึกษาภูมิทัศน์เมือง ได้ให้ความหมายภูมิทัศน์เมืองว่า สิ่งแวดล้อตามเส้นทาง และพื้นที่นอกอาคารที่สามารถมองเห็นและรับรู้ได้ในเมือง ไม่ว่าเป็นลักษณะและรูปทรงที่โอบล้อมจุดที่เรายืนอยู่ โดยจะมีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ภูมิทัศน์เมืองจากการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งภายในเมือง หรือ ศิลปะการสร้างเมืองที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สายสัมพันธ์ทางสายตาระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมในเมือง ที่เน้นการรับรู้สภาพแวดล้อมโดยการมองเห็น และการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมที่ตอบรับและสอดคล้องกับการรับรู้ของผู้คนโดยผ่านทางการจัดวางองค์ประกอบทางกายภาพในสภาพแวดล้อมของเมือง เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมในเมือง และในบางครั้ง จุดสังเกตและจุดศูนย์รวมก็รวมอยู่ในสถานที่เดียวกัน
เควิน ลินซ์ (Kevin Lynch, 1977, p. 46) สถาปนิกชาวอเมริกันนักวางผัง ได้ให้นิยาม ภูมิทัศน์เมือง ว่าเป็นการรวมองค์ประกอบในการรับรู้ของเมืองจากผู้พบเห็น ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 5 อย่าง คือ ทางสัญจร (Paths) ขอบเขต (Edges) ย่าน (Districts) จุดศูนย์รวม (Nodes) และจุดหมายตา (Landmarks) โดยองค์ประกอบทั้ง 5 ประการ จะสร้างมโนทัศน์ในการรับรู้เมืองของผู้สังเกต หากสภาพแวดล้อมของเมืองมีการจัดองค์ประกอบที่เหมาะสม ก็จะทำให้เกิดจินตภาพที่ชัดเจนและ ส่งผลให้เมืองนั้นๆมีความน่าประทับใจต่อผู้พบเห็นในที่สุด
อาชิฮารา โยชิโนบุ (Ashihara Yoshinobu,Translated by Lynne E. Riggs, 1983, p. 39) ให้ความหมายของภูมิทัศน์เมือง คือ ภาพรวมของเมืองซึ่งเกิดจากองค์ประกอบทางกายภาพต่างๆซึ่งปรากฏแก่สายตา และก่อให้เกิดผลทางอารมณ์และความรู้สึกแก่ผู้รับรู้องค์ประกอบ โดยคุณลักษณะของภูมิทัศน์เมืองถูกกำหนดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างถนนและกลุ่มอาคารในพื้นที่เมือง ซึ่งองค์ประกอบสำคัญที่กำหนดคุณลักษณะของภูมิทัศน์เมืองในปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อภูมิทัศน์เมือง ได้แก่ วัสดุที่ใช้ (Materials) ขนาดสัดส่วน (Proportions) และเส้นรอบรูป (Profiles) หรือ เส้นขอบที่มองจากด้านหน้าอาคาร และด้านข้างอาคาร
อาจกล่าวได้ว่า ภูมิทัศน์เมือง คือ “การรวมเข้าด้วยกันระหว่างสภาพทางธรรมชาติ และงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ โดยการออกแบบหรือปรับปรุงคุณภาพทางทัศนียภาพในสภาพแวดล้อมที่เป็นส่วนของเมือง เพื่อให้เกิดความร่มรื่น สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันในแต่ละเมือง”
องค์ประกอบภูมิทัศน์เมือง
จากอดีตการเลือกที่ตั้งของเมืองตามจุดมุ่งหมายเพื่อการป้องกันการรุกรานจากข้าศึกศัตรู การสร้างเมืองโดยอาศัยสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงถูกกำหนดเป็นปัจจัยแรกขององค์ประกอบเมือง ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชนบทไปสู่ความเป็นเมือง และเกิดการขยายตัวจากศูนย์กลางเมืองไปชานเมืองมากขึ้น สภาพแวดล้อมของเมืองถูกกำหนดตามสิ่งที่มนุษย์สร้าง โดยมีโครงข่ายคมนาคมขนส่งเป็นตัวเชื่อมโยงชุมชนต่างๆองค์ประกอบของเมือง มีปัจจัยที่หลากหลายทั้งทางกายภาพ และสังคมตามสิ่งปลูกสร้างทางสถาปัตยกรรมของพื้นที่เมืองและพื้นที่ว่าง อันก่อให้เกิดสภาพภูมิทัศน์ในแต่ละเมืองที่แตกต่างกัน โดยได้แบ่งประเภทขององค์ประกอบภูมิทัศน์ ดังนี้
1. องค์ประกอบภูมิทัศน์เมือง ตามลักษณะสภาพแวดล้อมทางภูมิประเทศของเมือง (Natural Environment)
2. องค์ประกอบภูมิทัศน์เมือง ตามสภาพแวดล้อมทางที่มนุษย์สร้างสรรค์ (Manmade Build Environment) ได้แก่ สภาพแวดล้อมของเมืองที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ และสิ่งปลูกสร้างของชุมชนที่อยู่โดยรอบพื้นที่ของเมือง
เมื่อพิจารณาในแง่ของการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของเมือง และประเมินเงื่อนไขขององค์ประกอบโดยพิจารณาจากรูปทรงทางผังเมือง ลักษณะและตำแหน่งที่ตั้ง ซึ่งองค์ประกอบสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของเมืองจากปัจจัยสภาพภูมิประเทศ และสภาพทางธรรมชาติ (Landform and Nature) โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพภูมิประเทศกับภูมิทัศน์เมือง และสถาปัตยกรรมใน 3 รูปแบบ ได้แก่ (Spreiregen, Paul D., 1965, page 51-52)
1. ภูมิทัศน์เมืองที่ตอบรับกับสภาพภูมิประเทศทั้งในเชิงสุนทรียภาพและประโยชน์ใช้สอย
2. การประเมินความสัมพันธ์ และผลกระทบระหว่างงานสถาปัตยกรรมในเมืองกับพื้นที่ธรรมชาติ
3. การตัดสินใจว่าพื้นที่ใดควรปล่อยให้คงอยู่ตามธรรมชาติ เพื่อช่วยเสริมสร้างคุณค่าให้กับเมือง
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเมืองตามสภาพแวดล้อมที่มนุษย์สร้างสรรค์ (Manmade Build Environment) จากการประเมินเงื่อนไขขององค์ประกอบโดยพิจารณาจากรูปลักษณะของงานสถาปัตยกรรม ทางสัญจร และตำแหน่งของที่ตั้งตามสภาพแวดล้อมในชุมชนเมือง ได้แบ่งองค์ประกอบเมืองทางกายภาพที่มนุษย์สร้างสรรค์ 7 องค์ประกอบ ได้ดังนี้ (วรรณศิลป์ พีรพันธุ์, 2538, หน้า 5-18)
1. การวางผังเมือง (Urban Planning)
2. เส้นทางคมนาคม (Routes)
3. พื้นที่เมือง และพื้นที่ว่าง (Urban Spaces and Open Spaces)
4. กระสวนและลักษณะของเนื้อเมือง (Pattern, Grain and Texture)
5. ย่านของเมือง (The Districts of a City)
6. ปัจจัยเชิงนามธรรม (Nonphysical Aspects)
7. รายละเอียดประกอบเมือง (Details)
ภาพลักษณ์ หรือจินตภาพของเมือง (Image of the city) เควิน ลินซ์สถาปนิกชาวอเมริกัน (Kevin Lynch, 1977, Pages 47 - 48) ได้ศึกษาองค์ประกอบของเมือง ที่ได้จากการสังเกต ที่ประกอบด้วย เอกลักษณ์ (Identity) โครงสร้าง (Structure) และความหมาย (Meaning) ส่วนประกอบทั้งสามต่างมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด สิ่งต่างๆที่ก่อให้เกิดจินตภาพได้ชัดเจนต้องมีคุณสมบัติด้านเอกลักษณ์ และโครงสร้างอย่างชัดเจนปรากฏเป็นร่องรอยในความทรงจำแก่ผู้พบเห็น โดยเป็นมโนภาพของเมืองด้านความงามที่มีลักษณะเฉพาะอันชัดเจน แตกต่างไปจากเมืองอื่น อันชวนให้ระลึกถึงและจดจำได้ง่าย ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงผู้คนและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในเมืองนั้นๆ โดย Kevin Lynch พบว่ามีองค์ประกอบทางกายภาพของเมือง (The City Image and Its Elements) ที่ผู้คนมักใช้ในการสร้างจินตภาพขึ้นในใจระหว่างตนเอง และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับเมือง ให้แนวคิดองค์ประกอบในการรับรู้ของเมือง ทำให้ได้ภาพของเมืองในการค้นหาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมืองจากผู้พบเห็นที่ช่วยให้ผู้คนใช้ในการสร้างมโนภาพของตัวเองเกี่ยวกับเมือง ตามองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการดังนี้ (วิมลสิทธิ์ หรยางกูล, 2537, 157-161)
1. เส้นทาง (Path) ทางสัญจร เป็นช่องทางการเคลื่อนที่ใช้สัญจรไปมา เช่น ถนน ทางรถไฟ ทางด่วน ทางเท้า เป็นต้น เส้นทางเหล่านี้เป็นส่วนที่มีความสำคัญมากต่อการเดินทางของผู้คนในเมือง ในขณะที่ผู้คนเคลื่อนไหวผ่านเส้นทาง ผู้คนมีโอการสเห็นส่วนต่างๆของเมืองตามเส้นทาง และเกิดความสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นๆของเมือง
2. เส้นขอบ (Edge) เส้นขอบ หรือ ขอบเขต เป็นองค์ประกอบที่มีลักษณะกำหนดขอบเขตของบริเวณที่ไม่ได้ใช้เป็นเส้นทางตามทัศนะของผู้สังเกต อาจปรากฏเป็นเส้นกั้นจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง ที่เป็นแนวกั้นตามธรรมชาติ เช่น ชายฝั่งทะเล หรือ ริมฝั่งแม่น้ำ และแนวกั้นที่แสดงขอบเขตที่มนุษย์สรรสร้างขึ้น เช่น กำแพงเมือง คูเมือง
3. ย่าน (Districts) เป็นบริเวณพื้นที่ชุมชนที่มีขนาดของพื้นที่ตามลักษณะเฉพาะของชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเมือง มีเอกลักษณ์ของบริเวณอันเกิดจากลักษณะเฉพาะร่วมกันของบริเวณที่ผู้สังเกตเข้าสู่ภายในเมืองได้ โดยแต่ละพื้นที่จะมีสภาพความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันตามโครงสร้างทางสังคม วิถีชีวิตของชุมชนจะแสดงลักษณะกิจกรรมของผู้คนที่ปรากฏเป็นย่านที่มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันในเมือง
4. ชุมทาง (Node) จุดศูนย์รวม หรือ ชุมทาง มักเป็นจุดศูนย์กลางของเส้นทาง เช่น บริเวณสี่แยก หรือ ชุมทางสถานีขนส่งต่างๆ ชุมทางสถานีรถไฟใต้ดิน อาจเป็นสถานที่ซึ่งมีกิจกรรมหนาแน่นบริเวณจัตุรัสใจกลางเมือง จุดศูนย์รวมจึงเป็นจุดเด่นเฉพาะตัวของย่านในเมือง เกิดความสัมพันธ์กับเส้นทางต่างๆที่รวมกันเป็นชุมทางเมื่อมาถึงและเดินทางเชื่อมต่อไปยังที่อื่นๆ
5. ภูมิสัญลักษณ์ (Landmark) จุดสังเกต หรือ จุดหมายตา เป็นจุดอ้างอิง หรือ ภูมิสัญลักษณ์ที่ใช้เป็นจุดหมายตา แตกต่างจากชุมทาง ที่บุคคลไม่สามารถเข้าสู่ภายในจุดหมายตาได้ โดยทำหน้าที่เป็นสัญญาณชี้แนะสำหรับสภาพแวดล้อม เช่น ป้าย อาคารสำคัญๆ อนุสาวรีย์ เป็นต้น ภาพแสดง 5 องค์ประกอบหลักตามจินตภาพเมือง (Image of the city) ของลินซ์ (เกริก กิตติคุณ, 2552, หน้า 27.)
ภาพแสดงจินตภาพในการรับรู้พื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ ของนักท่องเที่ยว (เกริก กิตติคุณ, 2552, หน้า 29.)
การวิเคราะห์ภูมิทัศน์เมือง
Larry W. Canter (บัณฑิต จุลาศัย, 2547, หน้า 109) สรุปเทคนิคสำหรับการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านสุนทรียภาพไว้ 5 วิธี ดังนี้
1.การใช้แบบสอบถาม 2.การบรรยายพร้อมภาพประกอบ 3.การใช้หุ่นจำลอง 4.การใช้เทคนิคภาพซ้อน 5.การสร้างภาพโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
การคาดการณ์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น (เกริก กิตติคุณ, ภูมิทัศน์เมือง,หน้า 72) เป็นการคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นระหว่างการก่อสร้างโครงการและเมื่อโครงการแล้วเสร็จ เพื่อการประเมินผลกระทบที่จะมีต่อสุนทรียภาพของเมือง โดยการคาดการณ์เพื่อการวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในเรื่องของสุนทรียภาพที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างที่ก่อผลกระทบต่อชุมชน ทั้งนี้รายงานการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบที่จะมีต่อภูมิทัศน์ของเมือง โดยการสร้างภาพจำลอง (Simulation) ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การวาดภาพเพื่อแสดงโครงการที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่พร้อมคำอธิบายแสดงถึงการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่โครงการ และเปรียบเทียบสภาพพื้นที่จริงก่อนโครงการก่อสร้างที่ยังไม่เกิดขึ้น กับสภาพพื้นที่จริงหลังโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ เพื่อแสดงให้เห็นภาพจำลองจากการวาดรูปมุมมองแสดงทัศนียภาพโดยรวมของโครงการแล้วว่าไม่ได้ส่งผลกระทบทางสุนทรียภาพ การสร้างหุ่นจำลอง (Mass Model) ที่ถูกต้องตามมาตราส่วน เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางการมองเห็นเสมือนว่าโครงการได้ก่อสร้างแล้วเสร็จในพื้นที่ การใช้ภาพที่สร้างสรรค์จินตนาการด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างภาพสามมิติของโครงการ และภาพเคลื่อนไหว (3D Animation) เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวมของโครงการกับพื้นที่โดยรอบ ส่วนวิธีการที่ใช้กันมากที่สุด และได้ผลการการวิเคราะห์ทัศนียภาพของเมืองอย่างง่าย คือ การสร้างภาพจำลองซ้อนทับภาพถ่าย (Photomontage) โดยใช้หลักการถ่ายภาพโครงการ และภาพพื้นที่บริเวณโดยรอบ แล้วนำมาสร้างภาพจำลองซ้อนทับภาพถ่าย โดยมีวัตถุประสงค์ของการสร้างภาพจำลอง คือ เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจ (Comprehension) ได้ว่าโครงการที่จะเกิดในอนาคตเป็นอย่างไร เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือได้ (Credibility) ว่าถูกต้องตามความเป็นจริง และปราศจากอคติ (Lack of Bias) ไม่โน้มเอียงไปในทางที่จะทำให้เกิดความสวยงามหรือน่าเกลียดเกินความเป็นจริง โดยใช้คุณสมบัติของภาพจำลองที่สามารถเป็นตัวแทนของโครงการในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง มองภาพเหมือนจริง (Accuracy) และมองเห็นภาพได้ชัดเจน (Visual Clarity) อยู่ในขอบเขตของความจริง มีความถูกต้อง และสามารถตรวจสอบได้ (Legitimacy) โดยเฉพาะในกรณีที่มีข้อสงสัยในด้านความน่าเชื่อถือ จะต้องสามารถอธิบายได้
แนวทางการจัดการภูมิทัศน์เมือง
แนวทางการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน ควรคำนึงถึงเอกลักษณ์ของเมือง ทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจรวมเข้าด้วยกัน โครงการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบในทางลบที่มีต่อภูมิทัศน์เมือง โดยไม่ได้คำนึงเอกลักษณ์เฉพาะและวิถีชีวิตของเมือง ได้ทำลายบรรยากาศการรับรู้ทางสุนทรียภาพที่ส่งผลกระทบต่อภูมิทัศน์เมือง ทั้งนี้แนวทางการจัดการภูมิทัศน์เมืองที่เสริมสร้างการพัฒนาและการอนุรักษ์อย่างสอดคล้องกัน ควรยึดถือปฏิบัติ ดังนี้ (เกริก กิตติคุณ, ภูมิทัศน์เมือง,หน้า 82 – 93)
1.การบริหารจัดการในเชิงแผนและนโยบายของหน่วยงานในท้องถิ่น
การวางแผนเพื่อพัฒนาและอนุรักษ์ทัศนียภาพเมือง ควรเป็นแผนในระดับแผนปฏิบัติการที่มีความชัดเจนในการดำเนินงาน มีการกำหนดวัตถุประสงค์ ขั้นตอนกระบวนการดำเนินงาน ระยะเวลาของโครงการต่าง ๆ และการจัดตั้งงบประมาณ โดยมีหลายหน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามามีบทบาทในการดำเนินงาน อันจะทำให้การจัดเตรียมงบประมาณเพื่อใช้ในการดำเนินงานทั้งหมดจากรัฐบาล รวมทั้งแหล่งเงินทุนภายในและจากต่างประเทศ จากกองทุนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาในด้านต่าง ๆ โดยควรเน้นที่การศึกษาค้นคว้าวิจัย เพื่อเสนอแนะวิธีการการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์เมือง มากกว่านำมาใช้ในการของบประมาณเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
2.การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์เมือง
เพื่อบรรลุผลที่ได้จากการการวางแผน ควรได้รับการสนองตอบจากชุมชน และสังคมท้องถิ่น โดยไม่ทำให้ขีดความสามารถที่จะสนองตอบต่อความจำเป็นต้องการในอนาคตเสียไป โดยการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพภูมิทัศน์เมืองให้เกิดขึ้น แนวทางการจัดการสภาพภูมิทัศน์เมือง ควรให้ความสำคัญต่อสิทธิของประชาชนในท้องถิ่น และเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับนโยบายและแผนงานที่ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์แก่ประชาชน ทำได้โดยให้ความรู้และการศึกษาทั้งในโรงเรียน และนอกระบบ มีการฝึกอบรม รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์การจัดทำแนวทางหรือคู่มือการพัฒนาภูมิทัศน์เมือง ทั้งนี้กระบวนการมีส่วนร่วมนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาในทุกระดับตั้งแต่ระดับองค์กรหน่วยงานของรัฐ จนถึงในระดับชุมชนขนาดเล็ก การพัฒนาสภาพภูมิทัศน์เมือง ต้องใช้มิติของภาคประชาชนในการจัดการและการแก้ปัญหาร่วมกัน กระบวนการมีส่วนร่วมก่อให้เกิดพลังของทุกฝ่ายในการร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และผลจากการมีส่วนร่วมของประชาชน สามารถนำไปสู่การพัฒนาชุมชนที่มีประสิทธิภาพ
3.การบังคับใช้กฎหมายที่เป็นกลไกของรัฐเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาสภาพภูมิทัศน์เมือง
มาตรการทางกฎหมายที่บังคับใช้เพื่อควบคุมภูมิทัศน์เมืองที่มีคุณค่าให้คู่ควรแก่การอนุรักษ์ และส่งเสริมการพัฒนาภูมิทัศน์เมืองให้เป็นไปตามหลักการสุนทรียภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของโครงการก่อสร้างที่จะเกิดขึ้นทั้งของหน่วยงานของรัฐและเอกชน การบังคับใช้กฎหมายที่เป็นกลไกของรัฐ ที่ออกตามพระราชบัญญัติ และกฎกระทรวง รวมทั้งข้อบัญญัติของท้องถิ่น ที่บังคับใช้เฉพาะในขอบเขตพื้นที่การปกครองตามลักษณะความต้องการบังคับใช้ของท้องถิ่น การควบคุมเมืองเป็นไปตามผังที่ได้กำหนดไว้ในอนาคตของเมือง การวางและจัดทำผังเมือง ของกรมโยธาธิการและผังเมืองจะให้ความสำคัญกับมาตรการควบคุมทางกฎหมายผังเมืองที่ออกตามพระราชบัญญัติ และกฎกระทรวง รวมทั้งข้อบัญญัติของท้องถิ่น ที่บังคับใช้เฉพาะในขอบเขตพื้นที่การปกครองตามลักษณะความต้องการบังคับใช้ของท้องถิ่น รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมทางผังเมือง ได้แก่ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547 เป็นต้น และการใช้มาตรการควบคุมการบังคับใช้ทางกฎหมายทั้งในส่วนเทศบัญญัติ และข้อบังคับของท้องถิ่น เพื่อให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานของสภาพภูมิทัศน์ที่ได้กำหนดไว้
อ้างอิง
- เกริก กิตติคุณ.ภูมิทัศน์เมือง . คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 2552
- เกริก กิตติคุณ. ภูมิทัศน์เมืองในงานวางผัง. เอกสารประกอบการสอนวิชาผังบริเวณ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2551
- วรรณศิลป์ พีรพันธุ์. องค์ประกอบของเมือง. (ม.ป.ท.). 2538
- วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบและวางแผน. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2541
- บัณฑิต จุลาศัย. การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับการออกแบบสถาปัตยกรรม .กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2546
- Ashihara Yoshinobu,Translated by Lynne E. Riggs. The Aesthetics Townscape. Cambridge : MIT Press. 1983
- Gordon Cullen, David Gosling. Visions of urban design. London : Academy Editions, 1996
- kevin Lynch. The image of the city. Cambridge : The MIT Press, 1977
- Spreiregen, Paul D. Urban Design : the Architecture of Town and Cities. New York : McGraw-Hill Book Co. 1965
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngbthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid phumithsnemuxng aemcaepnkhathiimkhunekhyodythwip hruxmkichknechphaainwichachiphthangsthaptykrrm aetkhwamhmay aelakhwamekhaicnn epnsingthixyuikltw nnepnephraachiwitphukhnswnihytangdarngchiphinsngkhmemuxngthiprasbphbehnkhwamngamkhxngemuxngcnchinta xyangirktamkarsrangkhwamekhaictamkhwamhmay aelaaenwkhidekiywkbphumithsnemuxng yxmchwyihehnkhunkhakhxngkhwamngdngamkhxngemuxngthiekidcakkarichthrrmchati aelakarsrrsrangkhxngmnusy ephuxpnaetngemuxngaetlaemuxngihekidkhwamswyngamthiaetktangkn khawa phumithsnemuxng epnkhaaeplthimacaksphthphasaxngkvswa Urban Landscape hrux Townscape sungekidcakkarrwmknkhxngkhawa Urban hrux Town thiaeplwa emuxng sungepnekhruxnghmaythiichaesdnglksnaphunthiemuxngthithuklxmrxbdwykaaephng hruxepnphunthiinekhtrsmithiaeyktwcakphunthichnbth aelamiaebbaephnkhxngkarcdxngkhkrphayin aelakhawa Landscape thiaeplwa phumithsn hmaythung karrbrusphaphaewdlxmphumipraethsthngthiprakttamcring aelaphaphlksninciticthirusukid ekrik kittikhun phumithsnemuxng hna 1 2 khwamhmayphumithsnemuxngkardxn khleln Gordon Cullen 1961 p 8 sthapnikphusuksaphumithsnemuxng idihkhwamhmayphumithsnemuxngwa singaewdlxtamesnthang aelaphunthinxkxakharthisamarthmxngehnaelarbruidinemuxng imwaepnlksnaaelarupthrngthioxblxmcudthierayunxyu odycamikarepliynaeplngkarrbruphumithsnemuxngcakkarekhluxnthicakcudhnungipyngcudhnungphayinemuxng hrux silpakarsrangemuxngthiekiywkhxngkbkarrbrusaysmphnththangsaytarahwangmnusykbsphaphaewdlxminemuxng thiennkarrbrusphaphaewdlxmodykarmxngehn aelakarsrangsrrkhsphaphaewdlxmthitxbrbaelasxdkhlxngkbkarrbrukhxngphukhnodyphanthangkarcdwangxngkhprakxbthangkayphaphinsphaphaewdlxmkhxngemuxng epnsunyklangkhxngkickrrminemuxng aelainbangkhrng cudsngektaelacudsunyrwmkrwmxyuinsthanthiediywkn ekhwin lins Kevin Lynch 1977 p 46 sthapnikchawxemriknnkwangphng idihniyam phumithsnemuxng waepnkarrwmxngkhprakxbinkarrbrukhxngemuxngcakphuphbehn sungprakxbdwyxngkhprakxbhlk 5 xyang khux thangsycr Paths khxbekht Edges yan Districts cudsunyrwm Nodes aelacudhmayta Landmarks odyxngkhprakxbthng 5 prakar casrangmonthsninkarrbruemuxngkhxngphusngekt haksphaphaewdlxmkhxngemuxngmikarcdxngkhprakxbthiehmaasm kcathaihekidcintphaphthichdecnaela sngphlihemuxngnnmikhwamnaprathbictxphuphbehninthisud xachihara oychionbu Ashihara Yoshinobu Translated by Lynne E Riggs 1983 p 39 ihkhwamhmaykhxngphumithsnemuxng khux phaphrwmkhxngemuxngsungekidcakxngkhprakxbthangkayphaphtangsungpraktaeksayta aelakxihekidphlthangxarmnaelakhwamrusukaekphurbruxngkhprakxb odykhunlksnakhxngphumithsnemuxngthukkahndkhuncakkhwamsmphnthrahwangthnnaelaklumxakharinphunthiemuxng sungxngkhprakxbsakhythikahndkhunlksnakhxngphumithsnemuxnginpccysakhythimiphltxphumithsnemuxng idaek wsduthiich Materials khnadsdswn Proportions aelaesnrxbrup Profiles hrux esnkhxbthimxngcakdanhnaxakhar aeladankhangxakhar xacklawidwa phumithsnemuxng khux karrwmekhadwyknrahwangsphaphthangthrrmchati aelangansrangsrrkhkhxngmnusy odykarxxkaebbhruxprbprungkhunphaphthangthsniyphaphinsphaphaewdlxmthiepnswnkhxngemuxng ephuxihekidkhwamrmrun swyngam miexklksnthiaetktangkninaetlaemuxng xngkhprakxbphumithsnemuxngcakxditkareluxkthitngkhxngemuxngtamcudmunghmayephuxkarpxngknkarrukrancakkhasukstru karsrangemuxngodyxasysphaphaewdlxmthangthrrmchati cungthukkahndepnpccyaerkkhxngxngkhprakxbemuxng txmaemuxekidkarepliynaeplngcakchnbthipsukhwamepnemuxng aelaekidkarkhyaytwcaksunyklangemuxngipchanemuxngmakkhun sphaphaewdlxmkhxngemuxngthukkahndtamsingthimnusysrang odymiokhrngkhaykhmnakhmkhnsngepntwechuxmoyngchumchntangxngkhprakxbkhxngemuxng mipccythihlakhlaythngthangkayphaph aelasngkhmtamsingpluksrangthangsthaptykrrmkhxngphunthiemuxngaelaphunthiwang xnkxihekidsphaphphumithsninaetlaemuxngthiaetktangkn odyidaebngpraephthkhxngxngkhprakxbphumithsn dngni 1 xngkhprakxbphumithsnemuxng tamlksnasphaphaewdlxmthangphumipraethskhxngemuxng Natural Environment 2 xngkhprakxbphumithsnemuxng tamsphaphaewdlxmthangthimnusysrangsrrkh Manmade Build Environment idaek sphaphaewdlxmkhxngemuxngthiekidkhuncakkarkrathakhxngmnusy aelasingpluksrangkhxngchumchnthixyuodyrxbphunthikhxngemuxng emuxphicarnainaengkhxngkarwiekhraahthungkhwamsmphnthrahwangxngkhprakxbkhxngemuxng aelapraeminenguxnikhkhxngxngkhprakxbodyphicarnacakrupthrngthangphngemuxng lksnaaelataaehnngthitng sungxngkhprakxbsphaphaewdlxmthangthrrmchatikhxngemuxngcakpccysphaphphumipraeths aelasphaphthangthrrmchati Landform and Nature odykarwiekhraahkhwamsmphnthrahwangsphaphphumipraethskbphumithsnemuxng aelasthaptykrrmin 3 rupaebb idaek Spreiregen Paul D 1965 page 51 52 1 phumithsnemuxngthitxbrbkbsphaphphumipraethsthnginechingsunthriyphaphaelapraoychnichsxy 2 karpraeminkhwamsmphnth aelaphlkrathbrahwangngansthaptykrrminemuxngkbphunthithrrmchati 3 kartdsinicwaphunthiidkhwrplxyihkhngxyutamthrrmchati ephuxchwyesrimsrangkhunkhaihkbemuxng khwamsmphnthkhxngxngkhprakxbemuxngtamsphaphaewdlxmthimnusysrangsrrkh Manmade Build Environment cakkarpraeminenguxnikhkhxngxngkhprakxbodyphicarnacakruplksnakhxngngansthaptykrrm thangsycr aelataaehnngkhxngthitngtamsphaphaewdlxminchumchnemuxng idaebngxngkhprakxbemuxngthangkayphaphthimnusysrangsrrkh 7 xngkhprakxb iddngni wrrnsilp phirphnthu 2538 hna 5 18 1 karwangphngemuxng Urban Planning 2 esnthangkhmnakhm Routes 3 phunthiemuxng aelaphunthiwang Urban Spaces and Open Spaces 4 kraswnaelalksnakhxngenuxemuxng Pattern Grain and Texture 5 yankhxngemuxng The Districts of a City 6 pccyechingnamthrrm Nonphysical Aspects 7 raylaexiydprakxbemuxng Details phaphlksn hruxcintphaphkhxngemuxng Image of the city ekhwin linssthapnikchawxemrikn Kevin Lynch 1977 Pages 47 48 idsuksaxngkhprakxbkhxngemuxng thiidcakkarsngekt thiprakxbdwy exklksn Identity okhrngsrang Structure aelakhwamhmay Meaning swnprakxbthngsamtangmikhwamsmphnthknxyangiklchid singtangthikxihekidcintphaphidchdecntxngmikhunsmbtidanexklksn aelaokhrngsrangxyangchdecnpraktepnrxngrxyinkhwamthrngcaaekphuphbehn odyepnmonphaphkhxngemuxngdankhwamngamthimilksnaechphaaxnchdecn aetktangipcakemuxngxun xnchwnihralukthungaelacdcaidngay sungcamilksnaaetktangknxxkip tamlksnathangkayphaph esrsthkicaelasngkhm rwmthungphukhnaelakickrrmtang thiekidkhuninemuxngnn ody Kevin Lynch phbwamixngkhprakxbthangkayphaphkhxngemuxng The City Image and Its Elements thiphukhnmkichinkarsrangcintphaphkhuninicrahwangtnexng aelasingaewdlxmthiekiywkhxngkbemuxng ihaenwkhidxngkhprakxbinkarrbrukhxngemuxng thaihidphaphkhxngemuxnginkarkhnhasphaphaewdlxmthangkayphaphkhxngemuxngcakphuphbehnthichwyihphukhnichinkarsrangmonphaphkhxngtwexngekiywkbemuxng tamxngkhprakxbphunthan 5 prakardngni wimlsiththi hryangkul 2537 157 161 1 esnthang Path thangsycr epnchxngthangkarekhluxnthiichsycripma echn thnn thangrthif thangdwn thangetha epntn esnthangehlaniepnswnthimikhwamsakhymaktxkaredinthangkhxngphukhninemuxng inkhnathiphukhnekhluxnihwphanesnthang phukhnmioxkarsehnswntangkhxngemuxngtamesnthang aelaekidkhwamsmphnthkbxngkhprakxbxunkhxngemuxng 2 esnkhxb Edge esnkhxb hrux khxbekht epnxngkhprakxbthimilksnakahndkhxbekhtkhxngbriewnthiimidichepnesnthangtamthsnakhxngphusngekt xacpraktepnesnkncakswnhnungipxikswnhnung thiepnaenwkntamthrrmchati echn chayfngthael hrux rimfngaemna aelaaenwknthiaesdngkhxbekhtthimnusysrrsrangkhun echn kaaephngemuxng khuemuxng 3 yan Districts epnbriewnphunthichumchnthimikhnadkhxngphunthitamlksnaechphaakhxngchumchn sungepnswnhnungkhxngemuxng miexklksnkhxngbriewnxnekidcaklksnaechphaarwmknkhxngbriewnthiphusngektekhasuphayinemuxngid odyaetlaphunthicamisphaphkhwamepnxyuthiaetktangkntamokhrngsrangthangsngkhm withichiwitkhxngchumchncaaesdnglksnakickrrmkhxngphukhnthipraktepnyanthimiexklksnthiaetktangkninemuxng 4 chumthang Node cudsunyrwm hrux chumthang mkepncudsunyklangkhxngesnthang echn briewnsiaeyk hrux chumthangsthanikhnsngtang chumthangsthanirthifitdin xacepnsthanthisungmikickrrmhnaaennbriewnctursicklangemuxng cudsunyrwmcungepncudednechphaatwkhxngyaninemuxng ekidkhwamsmphnthkbesnthangtangthirwmknepnchumthangemuxmathungaelaedinthangechuxmtxipyngthixun 5 phumisylksn Landmark cudsngekt hrux cudhmayta epncudxangxing hrux phumisylksnthiichepncudhmayta aetktangcakchumthang thibukhkhlimsamarthekhasuphayincudhmaytaid odythahnathiepnsyyanchiaenasahrbsphaphaewdlxm echn pay xakharsakhy xnusawriy epntn phaphaesdng 5 xngkhprakxbhlktamcintphaphemuxng Image of the city khxnglins ekrik kittikhun 2552 hna 27 phaphaesdngcintphaphinkarrbruphunthibriewnekaartnoksinthr khxngnkthxngethiyw ekrik kittikhun 2552 hna 29 karwiekhraahphumithsnemuxngLarry W Canter bnthit culasy 2547 hna 109 srupethkhnikhsahrbkarsuksawiekhraahphlkrathbsingaewdlxmthangdansunthriyphaphiw 5 withi dngni 1 karichaebbsxbtham 2 karbrryayphrxmphaphprakxb 3 karichhuncalxng 4 karichethkhnikhphaphsxn 5 karsrangphaphodyichopraekrmkhxmphiwetxr karkhadkarnphlkrathbthixacekidkhun ekrik kittikhun phumithsnemuxng hna 72 epnkarkhadkarnsingthicaekidkhunrahwangkarkxsrangokhrngkaraelaemuxokhrngkaraelwesrc ephuxkarpraeminphlkrathbthicamitxsunthriyphaphkhxngemuxng odykarkhadkarnephuxkarwiekhraahphlkrathbthangsingaewdlxm odyechphaaineruxngkhxngsunthriyphaphthiekiywkhxngkbokhrngkarkxsrangthikxphlkrathbtxchumchn thngnirayngankarsuksaephuxwiekhraahphlkrathbthicamitxphumithsnkhxngemuxng odykarsrangphaphcalxng Simulation sungsamarththaidhlaywithi echn karwadphaphephuxaesdngokhrngkarthicaekidkhuninphunthiphrxmkhaxthibayaesdngthungkarwiekhraahsphaphpyhakhxngphunthiokhrngkar aelaepriybethiybsphaphphunthicringkxnokhrngkarkxsrangthiyngimekidkhun kbsphaphphunthicringhlngokhrngkarkxsrangaelwesrc ephuxaesdngihehnphaphcalxngcakkarwadrupmummxngaesdngthsniyphaphodyrwmkhxngokhrngkaraelwwaimidsngphlkrathbthangsunthriyphaph karsranghuncalxng Mass Model thithuktxngtammatraswn ephuxepriybethiybphlkrathbthangkarmxngehnesmuxnwaokhrngkaridkxsrangaelwesrcinphunthi karichphaphthisrangsrrkhcintnakardwyethkhnikhkhxmphiwetxr ephuxsrangphaphsammitikhxngokhrngkar aelaphaphekhluxnihw 3D Animation ephuxaesdngihehnphaphrwmkhxngokhrngkarkbphunthiodyrxb swnwithikarthiichknmakthisud aelaidphlkarkarwiekhraahthsniyphaphkhxngemuxngxyangngay khux karsrangphaphcalxngsxnthbphaphthay Photomontage odyichhlkkarthayphaphokhrngkar aelaphaphphunthibriewnodyrxb aelwnamasrangphaphcalxngsxnthbphaphthay odymiwtthuprasngkhkhxngkarsrangphaphcalxng khux ephuxthaihekidkhwamekhaic Comprehension idwaokhrngkarthicaekidinxnakhtepnxyangir ephuxsrangkhwamnaechuxthuxid Credibility wathuktxngtamkhwamepncring aelaprascakxkhti Lack of Bias imonmexiyngipinthangthicathaihekidkhwamswyngamhruxnaekliydekinkhwamepncring odyichkhunsmbtikhxngphaphcalxngthisamarthepntwaethnkhxngokhrngkarinphunthiidxyangaethcring mxngphaphehmuxncring Accuracy aelamxngehnphaphidchdecn Visual Clarity xyuinkhxbekhtkhxngkhwamcring mikhwamthuktxng aelasamarthtrwcsxbid Legitimacy odyechphaainkrnithimikhxsngsyindankhwamnaechuxthux catxngsamarthxthibayidaenwthangkarcdkarphumithsnemuxngaenwthangkarphthnaemuxngthiyngyun khwrkhanungthungexklksnkhxngemuxng thangdansingaewdlxm sngkhm wthnthrrm aelaesrsthkicrwmekhadwykn okhrngkarkxsrangthisngphlkrathbinthanglbthimitxphumithsnemuxng odyimidkhanungexklksnechphaaaelawithichiwitkhxngemuxng idthalaybrryakaskarrbruthangsunthriyphaphthisngphlkrathbtxphumithsnemuxng thngniaenwthangkarcdkarphumithsnemuxngthiesrimsrangkarphthnaaelakarxnurksxyangsxdkhlxngkn khwryudthuxptibti dngni ekrik kittikhun phumithsnemuxng hna 82 93 1 karbriharcdkarinechingaephnaelanoybaykhxnghnwynganinthxngthin karwangaephnephuxphthnaaelaxnurksthsniyphaphemuxng khwrepnaephninradbaephnptibtikarthimikhwamchdecninkardaeninngan mikarkahndwtthuprasngkh khntxnkrabwnkardaeninngan rayaewlakhxngokhrngkartang aelakarcdtngngbpraman odymihlayhnwynganthirbphidchxbekhamamibthbathinkardaeninngan xncathaihkarcdetriymngbpramanephuxichinkardaeninnganthnghmdcakrthbal rwmthngaehlngenginthunphayinaelacaktangpraeths cakkxngthunephuxkarxnurksaelaphthnaindantang odykhwrennthikarsuksakhnkhwawicy ephuxesnxaenawithikarkarphthnasphaphphumithsnemuxng makkwanamaichinkarkhxngbpramanephuxprbprungsphaphaewdlxmthangkayphaph 2 karsrangkarmiswnrwmkhxngchumchnthimitxsphaphphumithsnemuxng ephuxbrrluphlthiidcakkarkarwangaephn khwridrbkarsnxngtxbcakchumchn aelasngkhmthxngthin odyimthaihkhidkhwamsamarththicasnxngtxbtxkhwamcaepntxngkarinxnakhtesiyip odykarsrangkarmiswnrwmkhxngchumchninkarxnurksaelaphthnasphaphphumithsnemuxngihekidkhun aenwthangkarcdkarsphaphphumithsnemuxng khwrihkhwamsakhytxsiththikhxngprachachninthxngthin aelaennkarmiswnrwmkhxngprachachn odyihkhxmulkhawsarekiywkbnoybayaelaaephnnganthichumchnmiswnrwmxyangaethcring tlxdcnephyaephrkhwamrudankarxnurksaekprachachn thaidodyihkhwamruaelakarsuksathnginorngeriyn aelanxkrabb mikarfukxbrm rwmipthungkarprachasmphnthkarcdthaaenwthanghruxkhumuxkarphthnaphumithsnemuxng thngnikrabwnkarmiswnrwmnbwaepnhwicsakhykhxngkarphthnainthukradbtngaetradbxngkhkrhnwyngankhxngrth cnthunginradbchumchnkhnadelk karphthnasphaphphumithsnemuxng txngichmitikhxngphakhprachachninkarcdkaraelakaraekpyharwmkn krabwnkarmiswnrwmkxihekidphlngkhxngthukfayinkarrwmknkhid rwmkntha aelaphlcakkarmiswnrwmkhxngprachachn samarthnaipsukarphthnachumchnthimiprasiththiphaph 3 karbngkhbichkdhmaythiepnklikkhxngrthephuxxnurksaelaphthnasphaphphumithsnemuxng matrkarthangkdhmaythibngkhbichephuxkhwbkhumphumithsnemuxngthimikhunkhaihkhukhwraekkarxnurks aelasngesrimkarphthnaphumithsnemuxngihepniptamhlkkarsunthriyphaphodykhanungthungphlkrathbthangsingaewdlxmkhxngokhrngkarkxsrangthicaekidkhunthngkhxnghnwyngankhxngrthaelaexkchn karbngkhbichkdhmaythiepnklikkhxngrth thixxktamphrarachbyyti aelakdkrathrwng rwmthngkhxbyytikhxngthxngthin thibngkhbichechphaainkhxbekhtphunthikarpkkhrxngtamlksnakhwamtxngkarbngkhbichkhxngthxngthin karkhwbkhumemuxngepniptamphngthiidkahndiwinxnakhtkhxngemuxng karwangaelacdthaphngemuxng khxngkrmoythathikaraelaphngemuxngcaihkhwamsakhykbmatrkarkhwbkhumthangkdhmayphngemuxngthixxktamphrarachbyyti aelakdkrathrwng rwmthngkhxbyytikhxngthxngthin thibngkhbichechphaainkhxbekhtphunthikarpkkhrxngtamlksnakhwamtxngkarbngkhbichkhxngthxngthin rwmthngkdhmaythiekiywkhxngkbkarkhwbkhumthangphngemuxng idaek phrarachbyytikhwbkhumxakhar ph s 2522 phrarachbyytiphngemuxng ph s 2518 phrarachbyyticdrupthidinephuxphthnaphunthi ph s 2547 epntn aelakarichmatrkarkhwbkhumkarbngkhbichthangkdhmaythnginswnethsbyyti aelakhxbngkhbkhxngthxngthin ephuxihepniptamaephnkardaeninngankhxngsphaphphumithsnthiidkahndiwxangxingekrik kittikhun phumithsnemuxng khnaethkhonolyixutsahkrrm mhawithyalyrachphtechiyngray 2552 ekrik kittikhun phumithsnemuxnginnganwangphng exksarprakxbkarsxnwichaphngbriewn mhawithyalyrachphtechiyngray 2551 wrrnsilp phirphnthu xngkhprakxbkhxngemuxng m p th 2538 wimlsiththi hryangkur phvtikrrmmnusykbsphaphaewdlxm multhanthangphvtikrrmephuxkarxxkaebaelawangaephn phimphkhrngthi 5 krungethph orngphimphculalngkrnmhawithyaly 2541 bnthit culasy karwiekhraahphlkrathbsingaewdlxmkbkarxxkaebbsthaptykrrm krungethph orngphimphculalngkrnmhawithyaly 2546Ashihara Yoshinobu Translated by Lynne E Riggs The Aesthetics Townscape Cambridge MIT Press 1983 Gordon Cullen David Gosling Visions of urban design London Academy Editions 1996 kevin Lynch The image of the city Cambridge The MIT Press 1977 Spreiregen Paul D Urban Design the Architecture of Town and Cities New York McGraw Hill Book Co 1965