ภาษาโยนางูนิ (与那国物言/ドゥナンムヌイ Dunan Munui ) เป็นภาษาในกลุ่มรีวกีวใต้ที่พูดโดยผู้คนราว 400 คนบน ในหมู่เกาะรีวกีวทางตะวันตกสุดของแนวเกาะซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของไต้หวัน มีความใกล้เคียงกับภาษายาเอยามะมากที่สุด เนื่องจากนโยบายของญี่ปุ่นเกี่ยวกับภาษาจึงไม่ได้รับการยอมรับในสถานะภาษา โดยรัฐบาลเรียกว่าภาษาถิ่นโยนางูนิ (与那国方言, Yonaguni hōgen) สำหรับการจัดประเภทโดยยูเนสโก ภาษาโยนางูนิเป็นภาษาใกล้สูญมากที่สุดในญี่ปุ่น
ภาษาโยนางูนิ | |
---|---|
与那国物言/ドゥナンムヌイ Dunan Munui | |
ออกเสียง | [dunaŋmunui] |
ประเทศที่มีการพูด | ญี่ปุ่น |
ภูมิภาค | |
จำนวนผู้พูด | 400 (2558) |
ตระกูลภาษา | ตระกูลภาษาญี่ปุ่น
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | yoi |
สัทวิทยา
สระ
ตารางด้านล่างแสดง เสียงสระ ที่มีอยู่ในภาษาโยนางูนิ เสียงสระที่มีแต่หน่วยเสียงย่อยเท่านั้นแสดงในวงเล็บ
i | u | ||
(ɪ) | (ʊ) | ||
o[1] | |||
a | (ɑ) |
- ^1 [o] อาจพิจารณาว่าเป็นหน่วยเสียงอิสระและไม่เป็นเพียงหน่วยเสียงย่อยของ /u/ อย่างไรก็ตามมีการกระจายที่จำกัดมาก ทั้งนี้ไม่รวมคำช่วยจำนวนเล็กน้อยเช่น คำอุทาน do ซึ่งเป็นเพียงหน่วยคำเดียวที่ปรากฏท้ายประโยค
พยัญชนะ
ตารางด้านล่างแสดงพยัญชนะที่มีอยู่ในภาษาโยนางูนิ พยัญชนะในวงเล็บจะมีเพียงหน่วยเสียงย่อยเท่านั้น หน่วยเสียงกัก (plosive) และหน่วยเสียงกึ่งเสียดแทรก (affricate) มีความแตกต่างสามแบบระหว่าง fortis, lenis และพยัญชนะเสียงโฆษะ
เสียงระเบิด | p | b | tʰ | t | d | kʰ | k | ɡ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
(ɸ) | s | (ɕ) | (ç) | h | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
t͡s | (t͡ɕ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เสียงนาสิก | m | n | ŋ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ɾ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(ʍ) | w | j |
การเปรียบเสียงในภาษาร่วมเชื้อสาย
ในฐานะที่เป็นภาษาในกลุ่มรีวกีวใต้ ภาษาโยนางูนิ คล้ายกับภาษามิยาโกะ และภาษายาเอยามะ มีหน่วยเสียง /b/ แทนที่หน่วยเสียง /w/ ในภาษาญี่ปุ่นมาตรฐาน เช่น คำในภาษาโยนางูนิ /bata/ ('ท้อง, พุง'), เกี่ยวเนื่องกับภาษาญี่ปุ่น /wata/ ('ลำไส้') ภาษาโยนางูนิยังมีหน่วยเสียง /d/ โดยที่ภาษาญี่ปุ่นและภาษากลุ่มรีวกีวอื่น ๆ เป็นหน่วยเสียง /j/ (ถอดเป็นอักษรโรมัน y) ตัวอย่างเช่น ภาษาโยนางูนิ /dama/ ('ภูเขา') เกี่ยวเนื่องกับภาษาญี่ปุ่นและภาษายาเอยามะ /jama/ ('idem' ) หน่วยเสียง /d/ ในภาษาโยนางูนิน่าจะเป็นการพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้จากหน่วยเสียง */j/ ก่อนหน้า อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาจากข้อเท็จจริงที่ว่าแม้แต่ */j/ ในคำยืมจากแหล่งกำเนิดกลุ่มภาษาจีน ผู้พูดภาษาโยนางูนิก็ออกเสียง /d/ เช่น dasai 'ผัก' จาก *jia-tsʰʌi (野菜) บันทึกในพงศาวดารเกาหลีช่วงปลายศตวรรษที่ 15 ซ็องจงแทวังซิลล็อก บันทึกชื่อท้องถิ่นของเกาะโยนางูนิในว่า 閏伊是麼 ซึ่งมีคำอ่านในว่า zjuni sima โดยคำว่า sima ที่ปรากฏในข้อความเป็นคำในกลุ่มภาษาญี่ปุ่นแปลว่า 'เกาะ' นี่เป็นหลักฐานโดยตรงของขั้นกลางของการเปลี่ยนแปลงเสียง (fortition) หน่วยเสียง *j- > *z- > d- ซึ่งนำไปสู่ชื่อสมัยใหม่ /dunaŋ/ 'โยนางูนิ'
ภาษาโยนางูนิ แสดงการเปล่งเสียงพยัญชนะระเบิดระหว่างสระ เช่นเดียวกับภาษาในตระกูลภาษาญี่ปุ่นหลายภาษา นอกจากนี้ยังแสดงแนวโน้มของหน่วยเสียง /ɡ/ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ออยู่ระหว่างสระที่จะออกเป็นเสียงนาสิก เพดานอ่อน /ŋ/ เช่นเดียวกับในภาษาญี่ปุ่นมาตรฐาน
โครงสร้างพยางค์
ด้านล่างนี้เป็นแม่แบบพยางค์ของภาษาโยนางูนิ:
- (C (G) ) V1 (V2) (N)
- C = พยัญชนะ
- G = พยัญชนะกึ่งสระ [w] หรือ [j]
- V = สระ
- N =
(พยัญชนะต้น)อนุญาตให้มีพยัญชนะตัวเดียวโดยอาจจะมีการเพิ่มพยัญชนะกึ่งสระ (แกนพยางค์)สามารถมีสระได้มากถึงสองตัว (พยัญชนะท้ายพยางค์)ที่อนุญาตคือพยัญชนะท้ายนาสิกที่มีการกลมกลืนเสียง (moraic nasal) เท่านั้น
ระบบการเขียน
ครั้งหนึ่งภาษาโยนางูนิ มีระบบการเขียนเฉพาะที่เรียกว่าตัวหนังสือคำไคดา อย่างไรก็ตามหลังจากการยึดครองโดยอาณาจักรรีวกีว และการถูกผนวกโดยจักรวรรดิญี่ปุ่นในภายหลัง ตัวหนังสือคำก็ถูกแทนที่ด้วยอักษรคานะและคันจิของญี่ปุ่น
อ้างอิง
- Yamada, Masahiro; Pellard, Thomas; Shimoji, Michinori (2015). Heinrich, Patrick; Miyara, Shinsho; Shimaji, Michinori (บ.ก.). Handbook of the Ryukyuan Languages: History, Structure, and Use. Handbooks of Japanese Language and Linguistics. Vol. 11. Berlin, Boston: De Gruyter Mouton. pp. 449–478. ISBN .
- Pellard, Thomas; Yamada, Masahiro (2017). "Verb Morphology and Conjugation Classes in Dunan (Yonaguni)". ใน Kiefer, Ferenc; Blevins, James P.; Bartos, Huba (บ.ก.). Perspectives on Morphological Organization: Data and Analyses. BRILL. ISBN .
- Vovin, Alexander (2010). "Yonaguni initial d- as an innovation". Korea-Japonica: A Re-Evaluation of a Common Genetic Origin. University of Hawaii Press. ISBN .
- Ikema Eizō 池間栄三 (1972) [1959]. Yonaguni no rekishi 与那国の歴史 (ภาษาญี่ปุ่น). B000J9EK8K.
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- 高橋俊三. "与那国方言." 言語学大辞典セレクション:日本列島の言語. 三省堂, 1997. Print. (ในภาษาญี่ปุ่น) (ISBN )
- 高橋俊三. "沖縄県八重山郡与那国町の方言の生活語彙." 方言研究叢書. 4 (1975): Print. (ในภาษาญี่ปุ่น)
- 平山輝男, 中本正智. 琉球与那国方言の研究. 東京: 東京堂, 1964. Print. (ในภาษาญี่ปุ่น)
- 高橋俊三. "琉球・与那国方言の語彙". 東京: 法政大学沖縄文化硏究所, 1987. Print. (ในภาษาญี่ปุ่น)
- 西岡敏. "与那国方言の動詞継続相のアクセント対立". 地域研究シリーズ 35, 95–105, 2008. (ในภาษาญี่ปุ่น)
- 加治工真市, 仲原穣. "与那国方言について (与那国島の伝統文化調査研究報告書,加治工真市教授退官記念)". 沖縄芸術の科学 : 沖縄県立芸術大学附属研究所紀要 16, 17–74, 2004 (ในภาษาญี่ปุ่น)
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaoynanguni 与那国物言 ドゥナンムヌイ Dunan Munui epnphasainklumriwkiwitthiphudodyphukhnraw 400 khnbn inhmuekaariwkiwthangtawntksudkhxngaenwekaasungxyuthangthistawnxxkkhxngithwn mikhwamiklekhiyngkbphasayaexyamamakthisud enuxngcaknoybaykhxngyipunekiywkbphasacungimidrbkaryxmrbinsthanaphasa odyrthbaleriykwaphasathinoynanguni 与那国方言 Yonaguni hōgen sahrbkarcdpraephthodyyuensok phasaoynanguniepnphasaiklsuymakthisudinyipunphasaoynanguni与那国物言 ドゥナンムヌイ Dunan Munuixxkesiyng dunaŋmunui praethsthimikarphud yipunphumiphakhcanwnphuphud400 2558 trakulphasatrakulphasayipun phasaoynangunirhsphasaISO 639 3yoibthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdsthwithyasra tarangdanlangaesdng esiyngsra thimixyuinphasaoynanguni esiyngsrathimiaethnwyesiyngyxyethannaesdnginwngelb i u ɪ ʊ o 1 a ɑ 1 o xacphicarnawaepnhnwyesiyngxisraaelaimepnephiynghnwyesiyngyxykhxng u xyangirktammikarkracaythicakdmak thngniimrwmkhachwycanwnelknxyechn khaxuthan do sungepnephiynghnwykhaediywthipraktthaypraoykhphyychna tarangdanlangaesdngphyychnathimixyuinphasaoynanguni phyychnainwngelbcamiephiynghnwyesiyngyxyethann hnwyesiyngkk plosive aelahnwyesiyngkungesiydaethrk affricate mikhwamaetktangsamaebbrahwang fortis lenis aelaphyychnaesiyngokhsa esiyngraebid p b tʰ t d kʰ k ɡ ɸ s ɕ c ht s t ɕ esiyngnasik m n ŋɾ ʍ w jkarepriybesiynginphasarwmechuxsay inthanathiepnphasainklumriwkiwit phasaoynanguni khlaykbphasamiyaoka aelaphasayaexyama mihnwyesiyng b aethnthihnwyesiyng w inphasayipunmatrthan echn khainphasaoynanguni bata thxng phung ekiywenuxngkbphasayipun wata lais phasaoynanguniyngmihnwyesiyng d odythiphasayipunaelaphasaklumriwkiwxun epnhnwyesiyng j thxdepnxksrormn y twxyangechn phasaoynanguni dama phuekha ekiywenuxngkbphasayipunaelaphasayaexyama jama idem hnwyesiyng d inphasaoynanguninacaepnkarphthnaemuximnanmanicakhnwyesiyng j kxnhna xyangirktamemuxphicarnacakkhxethccringthiwaaemaet j inkhayumcakaehlngkaenidklumphasacin phuphudphasaoynangunikxxkesiyng d echn dasai phk cak jia tsʰʌi 野菜 bnthukinphngsawdarekahlichwngplaystwrrsthi 15 sxngcngaethwngsillxk bnthukchuxthxngthinkhxngekaaoynanguniinwa 閏伊是麼 sungmikhaxaninwa zjuni sima odykhawa sima thipraktinkhxkhwamepnkhainklumphasayipunaeplwa ekaa niepnhlkthanodytrngkhxngkhnklangkhxngkarepliynaeplngesiyng fortition hnwyesiyng j gt z gt d sungnaipsuchuxsmyihm dunaŋ oynanguni phasaoynanguni aesdngkareplngesiyngphyychnaraebidrahwangsra echnediywkbphasaintrakulphasayipunhlayphasa nxkcakniyngaesdngaenwonmkhxnghnwyesiyng ɡ odyechphaaxyangyingemuxxyurahwangsrathicaxxkepnesiyngnasik ephdanxxn ŋ echnediywkbinphasayipunmatrthan okhrngsrangphyangkh danlangniepnaemaebbphyangkhkhxngphasaoynanguni C G V1 V2 N C phyychna G phyychnakungsra w hrux j V sra N phyychnatnxnuyatihmiphyychnatwediywodyxaccamikarephimphyychnakungsra aeknphyangkhsamarthmisraidmakthungsxngtw phyychnathayphyangkhthixnuyatkhuxphyychnathaynasikthimikarklmklunesiyng moraic nasal ethannrabbkarekhiynkhrnghnungphasaoynanguni mirabbkarekhiynechphaathieriykwatwhnngsuxkhaikhda xyangirktamhlngcakkaryudkhrxngodyxanackrriwkiw aelakarthukphnwkodyckrwrrdiyipuninphayhlng twhnngsuxkhakthukaethnthidwyxksrkhanaaelakhncikhxngyipunxangxingYamada Masahiro Pellard Thomas Shimoji Michinori 2015 Heinrich Patrick Miyara Shinsho Shimaji Michinori b k Handbook of the Ryukyuan Languages History Structure and Use Handbooks of Japanese Language and Linguistics Vol 11 Berlin Boston De Gruyter Mouton pp 449 478 ISBN 978 1 61451 161 8 Pellard Thomas Yamada Masahiro 2017 Verb Morphology and Conjugation Classes in Dunan Yonaguni in Kiefer Ferenc Blevins James P Bartos Huba b k Perspectives on Morphological Organization Data and Analyses BRILL ISBN 978 90 04 34293 4 Vovin Alexander 2010 Yonaguni initial d as an innovation Korea Japonica A Re Evaluation of a Common Genetic Origin University of Hawaii Press ISBN 978 0 8248 3278 0 Ikema Eizō 池間栄三 1972 1959 Yonaguni no rekishi 与那国の歴史 phasayipun B000J9EK8K hnngsuxxanephimetim高橋俊三 与那国方言 言語学大辞典セレクション 日本列島の言語 三省堂 1997 Print inphasayipun ISBN 978 4385152073 高橋俊三 沖縄県八重山郡与那国町の方言の生活語彙 方言研究叢書 4 1975 Print inphasayipun 平山輝男 中本正智 琉球与那国方言の研究 東京 東京堂 1964 Print inphasayipun 高橋俊三 琉球 与那国方言の語彙 東京 法政大学沖縄文化硏究所 1987 Print inphasayipun 西岡敏 与那国方言の動詞継続相のアクセント対立 地域研究シリーズ 35 95 105 2008 inphasayipun 加治工真市 仲原穣 与那国方言について 与那国島の伝統文化調査研究報告書 加治工真市教授退官記念 沖縄芸術の科学 沖縄県立芸術大学附属研究所紀要 16 17 74 2004 inphasayipun aehlngkhxmulxunwikithxngethiyw mikhaaenanakarthxngethiywsahrb Yonaguni phrasebook bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk