บทความนี้ไม่มีจาก |
ภาษาโคมิ เป็นภาษาของชาวโคมิทางตะวันตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรปในสหพันธรัฐรัสเซีย จัดอยู่ในตระกูลฟินโน-ยูกริก สาขาฟินโน-เปอร์มิก ภาษาโคมิมีสำเนียงต่างๆมากมาย ที่เป็นที่รู้จักกันดีมีสองสำเนียงคือ สำเนียงโคมิ-ไซเรียน ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด ใช้เป็นภาษาเขียนในสาธารณรัฐโคมิ และสำเนียงโคมิ-ยัซวา ซึ่งมีผู้พูดน้อยกว่า อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเขตเปิร์มและทางใต้ของสาธารณรัฐโคมิ สำเนียง เปอร์มืกหรือโคมิ-เปอร์มืก ใช้พูดในเขตโคมิ-เปอร์มืกซึ่งใช้เป็นภาษาเขียนด้วย
ภาษาโคมิ | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | รัสเซีย |
ภูมิภาค | และดินแดนเปียร์ม |
จำนวนผู้พูด | 350,000 (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | ยูรัล
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | kv |
ISO 639-2 | kom |
ISO 639-3 | kom – รหัสเอกเทศ: koi – โคมิ-เปียร์เมียคkpv – โคมิ-ซีเรียน |
การกระจายตัวของผู้พูดภาษาโคมิดั้งเดิม | |
ภาษาโคมิถูกจัดเป็นภาษาใกล้สูญพันธ์โดย ของ UNESCO (ค.ศ.2010) |
ระบบการเขียน
ระบบการเขียนของภาษาโคมิต่างจากภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริกอื่นๆ ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรเปอร์มิกโบราณที่ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1900 โดยมิชชันนารีสเตปัน ครัป ที่ต่อมากลายเป็นนักบุญในโคมิ อักษรนี้มีลักษณะผสมระหว่างอักษรกรีกกับอักษรซีริลลิก เปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกแบบภาษารัสเซียเมื่อราว พ.ศ. 2100 ในพ.ศ. 2463 เขียนด้วยอักษรโมล็อดซอฟ ที่พัฒนามาจากอักษรซีริลลิก พ.ศ. 2473 เปลี่ยนมาใช้อักษรละติน และกลับมาใช้อักษรซีริลลิกอีกใน พ.ศ. 2483 โดยเพิ่มอักษรพิเศษบางตัว
โคมิ-ไซเรียน
สำเนียงโคมิไซเรียนหรือภาษาไซเรียนเป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวโคมิ-ไซเรียนในสาธารณรัฐโคมิและบางส่วนของรัสเซียมีข้อโต้แย้งว่าภาษาไซเรียนควรเป็นภาษาเอกเทศหรือเป็นสำเนียงของภาษาโคมิ ในปี พ.ศ. 2537 มีผู้พูดราว 285,000 คน
ภาษาโคมิ-ไซเรียนเขียนด้วยอักษรเปอร์มิกโบราณตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 19 และเปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 22 ภาษานี้มีสำเนียงต่างๆกัน 10 สำเนียง สำเนียงปรีซืกตืฟคาร์สกี ที่ใช้พูดในบริเวณ ซืกตืฟคาร์เป็นสำเนียงมาตรฐาน
อ้างอิง
- Rantanen, Timo; Tolvanen, Harri; Roose, Meeli; Ylikoski, Jussi; Vesakoski, Outi (2022-06-08). "Best practices for spatial language data harmonization, sharing and map creation—A case study of Uralic". PLOS ONE (ภาษาอังกฤษ). 17 (6): e0269648. Bibcode:2022PLoSO..1769648R. doi:10.1371/journal.pone.0269648. PMC 9176854. PMID 35675367.
- Rantanen, Timo, Vesakoski, Outi, Ylikoski, Jussi, & Tolvanen, Harri. (2021). Geographical database of the Uralic languages (v1.0) [Data set]. Zenodo. https://doi.org/10.5281/zenodo.4784188
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasaokhmi epnphasakhxngchawokhmithangtawntawnxxkechiyngehnuxkhxngthwipyuorpinshphnthrthrsesiy cdxyuintrakulfinon yukrik sakhafinon epxrmik phasaokhmimisaeniyngtangmakmay thiepnthiruckkndimisxngsaeniyngkhux saeniyngokhmi iseriyn sungepnklumihythisud ichepnphasaekhiyninsatharnrthokhmi aelasaeniyngokhmi yswa sungmiphuphudnxykwa xyuthangtawntkechiyngehnuxkhxngekhtepirmaelathangitkhxngsatharnrthokhmi saeniyng epxrmukhruxokhmi epxrmuk ichphudinekhtokhmi epxrmuksungichepnphasaekhiyndwyphasaokhmipraethsthimikarphudrsesiyphumiphakhaeladinaednepiyrmcanwnphuphud350 000 imphbwnthi trakulphasayurl phasaokhmirhsphasaISO 639 1kvISO 639 2komISO 639 3kom rhsexkeths a href https iso639 3 sil org code koi class extiw title iso639 3 koi koi a okhmi epiyremiykh a href https iso639 3 sil org code kpv class extiw title iso639 3 kpv kpv a okhmi sieriynkarkracaytwkhxngphuphudphasaokhmidngedimphasaokhmithukcdepnphasaiklsuyphnthody khxng UNESCO kh s 2010 rabbkarekhiynrabbkarekhiynkhxngphasaokhmitangcakphasaklumfinon yukrikxun inyukhaerkekhiyndwyxksrepxrmikobranthipradisthkhunemuxraw ph s 1900 odymichchnnarisetpn khrp thitxmaklayepnnkbuyinokhmi xksrnimilksnaphsmrahwangxksrkrikkbxksrsirillik epliynmaichxksrsirillikaebbphasarsesiyemuxraw ph s 2100 inph s 2463 ekhiyndwyxksromlxdsxf thiphthnamacakxksrsirillik ph s 2473 epliynmaichxksrlatin aelaklbmaichxksrsirillikxikin ph s 2483 odyephimxksrphiessbangtwokhmi iseriynsaeniyngokhmiiseriynhruxphasaiseriynepnphasathiichphudodychawokhmi iseriyninsatharnrthokhmiaelabangswnkhxngrsesiymikhxotaeyngwaphasaiseriynkhwrepnphasaexkethshruxepnsaeniyngkhxngphasaokhmi inpi ph s 2537 miphuphudraw 285 000 khn phasaokhmi iseriynekhiyndwyxksrepxrmikobrantngaetrawphuththstwrrsthi 19 aelaepliynmaichxksrsirillikemuxrawphuththstwrrsthi 22 phasanimisaeniyngtangkn 10 saeniyng saeniyngprisuktufkharski thiichphudinbriewn suktufkharepnsaeniyngmatrthanxangxingRantanen Timo Tolvanen Harri Roose Meeli Ylikoski Jussi Vesakoski Outi 2022 06 08 Best practices for spatial language data harmonization sharing and map creation A case study of Uralic PLOS ONE phasaxngkvs 17 6 e0269648 Bibcode 2022PLoSO 1769648R doi 10 1371 journal pone 0269648 PMC 9176854 PMID 35675367 Rantanen Timo Vesakoski Outi Ylikoski Jussi amp Tolvanen Harri 2021 Geographical database of the Uralic languages v1 0 Data set Zenodo https doi org 10 5281 zenodo 4784188bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk