ภาษาเรอหวั่ง (Rawang language) หรือภาษากนุง-เรอหวั่งมีผู้พูดทั้งหมด 122,600 คน ชนเผ่าเรอหวั่งเป็นชนกลุ่มน้อย จึงไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก. ในปัจจุบันอาศัยอยู่กระจัดกระจายในแต่ละประเทศ ซึ่งบรรพบุรุษมาจากทางตะวันออกกลางและอพยพลงมาเรื่อยๆ พบมากที่สุดในพม่า 62,100 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐคะฉิ่น ทางเหนือของ และชาวเรอหวั่งส่วนมากในพม่าจะอาศัยอยู่ที่ ทางเหนือสุดของพม่า ที่ทีภูเขาหิมะที่เป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจและเป็นสัญลักษณ์ของชาวเรอหวั่ง พบในอินเดีย 60,500 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอรุณาจัลประเทศใกล้กับชายแดนพม่า และชายแดนจีนด้านที่ติดกับทิเบต พบในประเทศจีน มณฑลยุนนาน เมืองกงชาง พบในประเทศไทยในภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ และ กรุงเทพมหานคร ประมาณ คน ซึ่งในประเทศไทยกลุ่มเรอหวั่งยังไม่เป็นที่รู้จักเนื่องจากมีน้อยมาก และยังอยู่กระจัดกระจายในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นอเวย์ สวีเดน แคนาดา เดนมาร์ค นิวซีแลนด์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูดภาษาพม่า หรือภาษาจิ่งเผาะได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีหนังสือพิมพ์ตีพิมพ์ด้วยภาษานี้ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา
ภาษาเรอหวั่ง | |
---|---|
Rvwàng | |
ประเทศที่มีการพูด | พม่า อินเดีย จีน ไทย |
จำนวนผู้พูด | 122,600 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
ระบบการเขียน | อักษรละติน |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | raw |
ภาษาเรอหวั่งแบ่งออกเป็น 4 สำเนียง ได้แก่ มัดหว่าง, หลุ่งมี, ดั่งสั่ล, ดะหรู่
ระบบเสียง
พยัญชนะ
เสียงกัก | ไม่ก้อง พ่นลม | /pʰ/ ⟨p⟩¹ | /tʰ/ ⟨t⟩¹ | /kʰ/ ⟨k⟩¹ | /ʔ/ ⟨q⟩² | |
---|---|---|---|---|---|---|
ไม่ก้อง ไม่พ่นลม | /p/ ⟨b⟩ | /t/ ⟨d⟩ | /k/~[ɡ] ⟨g⟩ | |||
เสียงนาสิก | /m/ ⟨m⟩ | /n/ ⟨n⟩ | /ɲ/ ⟨ny⟩ | /ŋ/ ⟨ng⟩ | ||
ไม่ก้อง | /f/ ⟨f⟩⁴ | /s/ ⟨s⟩ | /ɕ/~[ʃ] ⟨sh⟩ | /h/ ⟨h⟩ | ||
ก้อง | /z/ ⟨z⟩ | |||||
ไม่ก้อง พ่นลม | /t͡ɕʰ/~[t͡ʃʰ] ⟨ch⟩⁵ | |||||
ไม่ก้อง ไม่พ่นลม | /t͡ɕ/~[t͡ʃ] ⟨j⟩ | |||||
/w/ ⟨w⟩³ | /ɹ/~[ɻ] ⟨r⟩³ | /j/ ⟨y⟩³ | ||||
/l/ ⟨l⟩ |
- ⟨-p⟩, ⟨-t⟩, ⟨-k⟩ เมื่อเป็นพยัญชนะสะกดจะกลายเป็นเสียง /p̚/, /t̚/, /k̚/
- ⟨-q⟩ ใช้เป็นพยัญชนะสะกดเท่านั้น ส่วนพยัญชนะต้นไม่ปรากฏรูป
- ⟨-w-⟩, ⟨-r-⟩, ⟨-y-⟩ ใช้เป็นพยัญชนะควบได้
- ⟨f⟩ ใช้เฉพาะในคำยืม
- ⟨ch⟩ บางครั้งก็เขียนเป็น ⟨c⟩
สระ
ลิ้นส่วนหน้า | ลิ้นส่วนกลาง | ลิ้นส่วนหลัง | ||
---|---|---|---|---|
ปากเหยียด | ปากเหยียด | ปากเหยียด | ปากห่อ | |
ลิ้นยกสูง | /i/ ⟨i⟩ | /ɯ/ ⟨ø⟩ | /u/ ⟨u⟩ | |
ลิ้นกึ่งสูง | /ə/ ⟨v⟩ | |||
ลิ้นกึ่งต่ำ | /ɛ/ ⟨e⟩ | /ɔ/ ⟨o⟩ | ||
ลิ้นลดต่ำ | /ɑ/ ⟨a⟩ |
- สามารถใช้เครื่องหมายทวิภาค ⟨:⟩ เพื่อต่อเสียงสระให้ยาว ซึ่งพบได้ทั้งสระเดี่ยวและสระประสม โดยมากใช้เพื่อการผันคำศัพท์
- สระที่เขียนติดกันจะเชื่อมเสียงรวมกันโดยไม่มี /ʔ/
วรรณยุกต์
มีวรรณยุกต์ 4 เสียง คือ สูง กลาง ต่ำ และเบา แสดงได้ด้วยเครื่องหมายกำกับบนสระ ⟨á⟩ ⟨ā⟩ ⟨à⟩ ⟨a⟩ ระดับเสียงอธิบายได้เป็น /55/, /33/, /31/ และ /ไม่มี/ ตามลำดับ
เสียงเบาจะปรากฏในพยางค์เปิด (คือไม่มีพยัญชนะสะกด) เสียงจริงอาจจะสูงกลางต่ำก็ได้ตามคำแวดล้อม และการเขียนในปัจจุบัน เสียงกลางไม่ต้องเติมเครื่องหมายขีดบนตลอดเวลา เพื่อความสะดวก
พยางค์ที่สะกดด้วยเสียงกัก ⟨-p⟩ ⟨-t⟩ ⟨-k⟩ ⟨-q⟩ จะเป็นเสียงสูงเสมอโดยที่ไม่ต้องเติมเครื่องหมาย
อ้างอิง
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaerxhwng Rawang language hruxphasaknung erxhwngmiphuphudthnghmd 122 600 khn chnephaerxhwngepnchnklumnxy cungimkhxyepnthiruck inpccubnxasyxyukracdkracayinaetlapraeths sungbrrphburusmacakthangtawnxxkklangaelaxphyphlngmaeruxy phbmakthisudinphma 62 100 khn ph s 2543 inrthkhachin thangehnuxkhxng aelachawerxhwngswnmakinphmacaxasyxyuthi thangehnuxsudkhxngphma thithiphuekhahimathiepnthinatuntatunicaelaepnsylksnkhxngchawerxhwng phbinxinediy 60 500 khn ph s 2543 inrthxrunaclpraethsiklkbchayaednphma aelachayaedncindanthitidkbthiebt phbinpraethscin mnthlyunnan emuxngkngchang phbinpraethsithyinphakhehnux c echiyngihm aela krungethphmhankhr praman khn sunginpraethsithyklumerxhwngyngimepnthiruckenuxngcakminxymak aelayngxyukracdkracayintangpraeths echn shrthxemrika xxsetreliy frngess nxewy swiedn aekhnada ednmarkh niwsiaelnd cdxyuintrakulphasacin thiebt klumphasathiebt phma sakhanung phuphudphasaniinphmaphudphasaphma hruxphasacingephaaiddwy ekhiyndwyxksrlatin mihnngsuxphimphtiphimphdwyphasani eriyngpraoykhaebbprathan krrm kriyaphasaerxhwngRvwangpraethsthimikarphudphma xinediy cin ithycanwnphuphud122 600 khn imphbwnthi trakulphasacin thiebt klumphasathiebt phmaphasaerxhwngrabbkarekhiynxksrlatinrhsphasaISO 639 3raw phasaerxhwngaebngxxkepn 4 saeniyng idaek mdhwang hlungmi dngsl dahrurabbesiyngphyychna esiyngkk imkxng phnlm pʰ p tʰ t kʰ k ʔ q imkxng imphnlm p b t d k ɡ g esiyngnasik m m n n ɲ ny ŋ ng imkxng f f s s ɕ ʃ sh h h kxng z z imkxng phnlm t ɕʰ t ʃʰ ch imkxng imphnlm t ɕ t ʃ j w w ɹ ɻ r j y l l p t k emuxepnphyychnasakdcaklayepnesiyng p t k q ichepnphyychnasakdethann swnphyychnatnimpraktrup w r y ichepnphyychnakhwbid f ichechphaainkhayum ch bangkhrngkekhiynepn c sra linswnhna linswnklang linswnhlngpakehyiyd pakehyiyd pakehyiyd pakhxlinyksung i i ɯ o u u linkungsung e v linkungta ɛ e ɔ o linldta ɑ a samarthichekhruxnghmaythwiphakh ephuxtxesiyngsraihyaw sungphbidthngsraediywaelasraprasm odymakichephuxkarphnkhasphth srathiekhiyntidkncaechuxmesiyngrwmknodyimmi ʔ wrrnyukt miwrrnyukt 4 esiyng khux sung klang ta aelaeba aesdngiddwyekhruxnghmaykakbbnsra a a a a radbesiyngxthibayidepn 55 33 31 aela immi tamladb esiyngebacapraktinphyangkhepid khuximmiphyychnasakd esiyngcringxaccasungklangtakidtamkhaaewdlxm aelakarekhiyninpccubn esiyngklangimtxngetimekhruxnghmaykhidbntlxdewla ephuxkhwamsadwk phyangkhthisakddwyesiyngkk p t k q caepnesiyngsungesmxodythiimtxngetimekhruxnghmayxangxingGordon Raymond G Jr ed 2005 Ethnologue Languages of the World Fifteenth edition Dallas Tex SIL International Online version http www ethnologue com