ในคณิตศาสตร์ ภาวะคู่กันปวงกาเร (อังกฤษ: Poincaré duality) เป็นทฤษฎีบทพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างของและของแมนิโฟลด์ ทฤษฎีบทนี้กล่าวว่าถ้า เป็นแมนิโฟลด์มิติ ที่เป็น (เป็นและไม่มีขอบ) และ แล้วกรุปคอฮอมอโลยีตัวที่ ของ จะกับกรุปฮอมอโลยีตัวที่ สำหรับทุกจำนวนเต็ม หรือเขียนได้ว่า
ภาวะคู่กันปวงกาเรเป็นจริงสำหรับทุกริงสัมประสิทธิ์ ตราบเท่าที่เลือกใช้การกำหนดทิศทางบนแมนิโฟลด์ที่สอดคล้องกับริงนั้น และเนื่องจากทุกแมนิโฟลด์มีการกำหนดทิศทางเพียงหนึ่งเดียวมอดุโล 2 แล้วจะได้ว่าภาวะคู่กันปวงการเรเป็นจริงมอดุโลสองโดยไม่ต้องกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม
ประวัติ
รูปแบบหนึ่งของภาวะคู่กันปวงกาเรถูกกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรกโดย อ็องรี ปวงกาเร ในปีค.ศ. 1893 โดยไม่ได้ให้บทพิสูจน์ ปวงกาเรตั้งทฤษฎีบทนี้ในเทอมของว่าจำนวนเบ็ตตีตัวที่ และ
ของแมนิโฟลด์ปิด (และไม่มีขอบ) และมิติ
จะเท่ากันเสมอ แนวคิดเรื่องคอฮอมอโลยีต้องรอไปอีก 40 ปีจากขณะนั้นถึงจะชัดเจนสมบูรณ์ ในปีค.ศ. 1895 ในรายงานวิจัย ปวงกาเรได้พยายามพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ผ่านเชิงทอพอโลยี (topological intersection theory) ซึ่งปวงกาเรเป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นมา แต่คำวิจารณ์จาก ชี้ให้ปวงกาเรเห็นว่าบทพิสูจน์ของเขาผิดพลาด ในส่วนเพิ่มเติมของรายงาน ที่ตีพิมพ์ภายหลัง ปวงกาเรให้บทพิสูจน์ใหม่ผ่าน dual triangulations
ภาวะคู่กันปวงกาเรปรากฎในรูปแบบปัจจุบันภายหลังแนวคิดเรื่องคอฮอมอโลยีปรากฎขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 1930 เมื่อ และ นิยาม (cup product) และ (cap product) จากนั้นใช้แนวคิดทั้งสองเพื่อเขียนภาวะคู่กันปวงกาเรในรูปแบบใหม่
ภาวะคู่กันปวงกาเรในรูปแบบปัจจุบัน
ภาวะคู่กันปวงกาเรในรูปแบบปัจจุบันนิยมกล่าวผ่านฮอมอโลยีและคอฮอมอโลยี
ภาวะคู่กันปวงกาเร — ให้ เป็นแมนิโฟลด์มิติ
ที่เป็นและ แล้วจะมีฟังก์ชันสมสัณฐานระหว่างกรุป
ในรูปแบบบัญญัติสำหรับทุกจำนวนเต็ม
เพื่อนิยามฟังก์ชันสมสัณฐานดังกล่าว เราเลือก (fundamental class) ของ
ซึ่งนิยามถ้า
กำหนดทิศทางได้ จะได้ว่าฟังก์ชันสมสัณฐานเป็นการส่งสมาชิก
ไปยัง
และนิยามให้เป็นศูนย์สำหรับดีกรีเป็นจำนวนเต็มลบ ดังนั้นภาวะคู่กันของปวงกาเรจึงบ่งว่ากรุปฮอมอโลยีและกรุปคอฮอมอโลยีของแมนิโฟลด์มิติ ที่เป็นแมนิโฟลด์ปิดและกำหนดทิศทางได้จะเป็นศูนย์สำหรับทุกดีกรีที่สูงกว่า
ในรูปแบบข้างต้นกรุปฮอมอโลยีและกรุปคอฮอมอโลยีมีค่าเป็นจำนวนเต็ม แต่ภาวะสมสัณฐาณนี้เป็นจริงไม่ว่าใช้ริงสัมประสิทธิ์ใด ๆ ในกรณีที่แมนิโฟลด์กำหนดทิศทางได้ไม่กระชับ จะต้องเปลี่ยนฮอมอโลยีเป็น
หรือเปลี่ยนคอฮอมอโลยีเป็น (cohomology with compact support)
บทประยุกต์กับแคแรกเทอริสติกออยเลอร์
ผลที่ตามมาโดยทันทีจากภาวะคู่กันปวงกาเรคือทุกแมนิโฟลด์ปิดและกำหนดทิศทางได้ ที่มีมิติเป็นจำนวนเต็มคี่ จะมีเท่ากับศูนย์ และจะได้ตามมาว่าทุกแมนิโฟลด์มีขอบเขตจะมีแคแรกเทอริสติกออยเลอร์เป็นเลขคู่
การวางนัยทั่วไป
(Poincaré–Lefschetz duality theorem) เป็นการวางนัยทั่วไปของภาวะคู่กันปวงกาเรสำหรับแมนิโฟลด์ที่มีขอบเขต ในกรณีที่แมนิโฟลด์กำหนดทิศทางไม่ได้ เราสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะคู่กันได้โดยพิจารณาชีพของการกำหนดทิศทางเฉพาะที่ เรียกว่า (twist Poincare duality)
รายการอ้างอิง
- (2002). Algebraic Topology (ภาษาอังกฤษ) (1st ed.). Cambridge: . ISBN . 1867354.
อ่านเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkhnitsastr phawakhuknpwngkaer xngkvs Poincare duality epnthvsdibthphunthanthiekiywkhxngkbokhrngsrangkhxngkruphxmxolyiaelakrupkhxhxmxolyikhxngaemniofld thvsdibthniklawwatha M displaystyle M epnaemniofldmiti n displaystyle n thiepnaemniofldpid epnaemniofldkrachbaelaimmikhxb aelakahndthisthangid aelwkrupkhxhxmxolyitwthi k displaystyle k khxng M displaystyle M casmsnthankbkruphxmxolyitwthi n k displaystyle n k sahrbthukcanwnetm k displaystyle k hruxekhiynidwa H k M H n k M displaystyle H k M cong H n k M phawakhuknpwngkaerepncringsahrbthukringsmprasiththi trabethathieluxkichkarkahndthisthangbnaemniofldthisxdkhlxngkbringnn aelaenuxngcakthukaemniofldmikarkahndthisthangephiynghnungediywmxduol 2 aelwcaidwaphawakhuknpwngkarerepncringmxduolsxngodyimtxngkahndenguxnikhephimetim enuxha 1 prawti 2 phawakhuknpwngkaerinrupaebbpccubn 3 bthprayuktkbaekhaerkethxristikxxyelxr 4 karwangnythwip 5 raykarxangxing 6 xanephimprawtiaekrupaebbhnungkhxngphawakhuknpwngkaerthukklawkhunepnkhrngaerkody xxngri pwngkaer inpikh s 1893 odyimidihbthphisucn pwngkaertngthvsdibthniinethxmkhxngcanwnebttiwacanwnebttitwthi k displaystyle k nbsp aela n k displaystyle n k nbsp khxngaemniofldpid aemniofldkrachbaelaimmikhxb aelakahndthisthangidmiti n displaystyle n nbsp caethaknesmx aenwkhideruxngkhxhxmxolyitxngrxipxik 40 picakkhnannthungcachdecnsmburn inpikh s 1895 inraynganwicy Analysis Situs pwngkaeridphyayamphisucnthvsdibthniphanthvsdikartdkhwangechingthxphxolyi topological intersection theory sungpwngkaerepnphupradisthkhunma aetkhawicarncak Poul Heegaard chiihpwngkaerehnwabthphisucnkhxngekhaphidphlad inswnephimetimkhxngrayngan Analysis Situs thitiphimphphayhlng pwngkaerihbthphisucnihmphan dual triangulations phawakhuknpwngkaerprakdinrupaebbpccubnphayhlngaenwkhideruxngkhxhxmxolyiprakdkhuninchwngkhriststwrrsthi 1930 emux exduxard echkh aela aehselxr withnir niyamphlkhunthwy cup product aelaphlkhunhmwk cap product caknnichaenwkhidthngsxngephuxekhiynphawakhuknpwngkaerinrupaebbihmphawakhuknpwngkaerinrupaebbpccubnaekphawakhuknpwngkaerinrupaebbpccubnniymklawphanhxmxolyiaelakhxhxmxolyi phawakhuknpwngkaer ih M displaystyle M nbsp epnaemniofldmiti n displaystyle n nbsp thiepnaemniofldpidaelakahndthisthangid aelwcamifngkchnsmsnthanrahwangkrup H k M Z H n k M Z displaystyle H k M mathbb Z to H n k M mathbb Z nbsp inrupaebbbyytisahrbthukcanwnetm k displaystyle k nbsp ephuxniyamfngkchnsmsnthandngklaw eraeluxkchnmulthan fundamental class M displaystyle M nbsp khxng M displaystyle M nbsp sungniyamtha M displaystyle M nbsp kahndthisthangid caidwafngkchnsmsnthanepnkarsngsmachik a H k M displaystyle alpha in H k M nbsp ipyngphlkhunhmwk M a displaystyle M frown alpha nbsp 1 kruphxmxolyiaelakrupkhxhxmxolyiniyamihepnsunysahrbdikriepncanwnetmlb dngnnphawakhuknkhxngpwngkaercungbngwakruphxmxolyiaelakrupkhxhxmxolyikhxngaemniofldmiti n displaystyle n nbsp thiepnaemniofldpidaelakahndthisthangidcaepnsunysahrbthukdikrithisungkwa n displaystyle n nbsp inrupaebbkhangtnkruphxmxolyiaelakrupkhxhxmxolyimikhaepncanwnetm aetphawasmsnthanniepncringimwaichringsmprasiththiid inkrnithiaemniofldkahndthisthangidimkrachb catxngepliynhxmxolyiepn Borel Moore homology H i X H n i B M X displaystyle H i X stackrel cong to H n i BM X nbsp hruxepliynkhxhxmxolyiepnkhxhxmxolyimiswnkhacunkrachb cohomology with compact support H c i X H n i X displaystyle H c i X stackrel cong to H n i X nbsp bthprayuktkbaekhaerkethxristikxxyelxraekphlthitammaodythnthicakphawakhuknpwngkaerkhuxthukaemniofldpidaelakahndthisthangid M displaystyle M nbsp thimimitiepncanwnetmkhi camiaekhaerkethxristikxxyelxrethakbsuny aelacaidtammawathukaemniofldmikhxbekhtcamiaekhaerkethxristikxxyelxrepnelkhkhukarwangnythwipaekphawakhuknpwngkaer elfechts Poincare Lefschetz duality theorem epnkarwangnythwipkhxngphawakhuknpwngkaersahrbaemniofldthimikhxbekht inkrnithiaemniofldkahndthisthangimid erasamarthihkhxmulekiywkbphawakhuknidodyphicarnachiphkhxngkarkahndthisthangechphaathi eriykwa phawakhuknpwngkaerthwist twist Poincare duality raykarxangxingaek Hatcher Allen 2002 Algebraic Topology phasaxngkvs 1st ed Cambridge Cambridge University Press ISBN 9780521795401 MR 1867354 xanephimaekBlanchfield Richard C 1957 Intersection theory of manifolds with operators with applications to knot theory Annals of Mathematics 65 2 340 356 doi 10 2307 1969966 JSTOR 1969966 MR 0085512 Griffiths Phillip Harris Joseph 1994 Principles of algebraic geometry Wiley Classics Library New York Wiley ISBN 978 0 471 05059 9 MR 1288523 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawakhuknpwngkaer amp oldid 12080345