ภาวะข้อมูลท่วมท้น (อังกฤษ: information overload) หมายถึง ภาวะที่บุคคลประสบความยุ่งยากในการเข้าใจประเด็นและตัดสินใจ อันเนื่องมาจากมีข้อมูลมากเกินไป ทำนองเดียวกับ "ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด" หรือ "มากหมอมากความ"
ศัพท์นี้ได้รับความนิยม เพราะ ใช้ในหนังสือขายดีของตน ชื่อ (ค.ศ. 1970) และ ก็ใช้ในหนังสือของตน ชื่อ The Managing of Organizations (ค.ศ. 1964)
ศัพท์และแนวคิดดังกล่าวนี้ มีมาก่อนอินเทอร์เน็ต[]
ทอฟเลอร์อธิบายศัพท์นี้ โดยเปรียบเทียบว่า ภาวะข้อมูลท่วมท้นคือการได้รับรู้ความรู้สึกมากเกินไป (sensory overload) ใน ทั้งนี้ การรับรู้ความรู้สึกมากเกินไปเป็นศัพท์ที่เริ่มใช้ในทศวรรษ 1950 และถูกมองว่าเป็นสาเหตุของการไม่มีสมาธิและขาดการตอบสนอง ทอฟเลอร์นิยามภาวะข้อมูลท่วมท้นว่ามีผลกระทบลักษณะเดียวกัน แต่เกิดกับการทำงานทางการรับรู้ในระดับที่สูงกว่า เขาเขียนว่า "เมื่อปัจเจกบุคคลตกอยู่ในภาวะที่สถานการณ์เปลี่ยนอย่างรวดเร็วและอย่างผิดปรกติ หรืออยู่ในบริบทที่ไม่เคยพบประสบมาก่อน...บุคคลนั้นจะมีความแม่นยำในการคาดการณ์ลดลง เขาจะไม่สามารถประเมินอย่างถูกต้องได้อีกต่อไปว่าพฤติกรรมที่มีเหตุผลแบบไหนที่เชื่อใจได้"
อ้างอิง
- Yang, C.C.; Chen, Hsinchun; Honga, Kay (2003). "Visualization of large category map for Internet browsing". Decision Support Systems. 35 (1): 89–102. doi:10.1016/S0167-9236(02)00101-X.
- Gross, Bertram M. (1964). The Managing of Organizations: The Administrative Struggle. p. 856.
- An article in Science magazine in 1959 about a conference held in June 1958 at Harvard Medical School mentions that Donald B. Lindsley had given a paper titled "Are there common factors in sensory deprivation, sensory distortion and sensory overload?" "Meetings," in Science, Vol 129, No. 3343, Jan 23, 1959, pp. 221-225.
- Future Shock, pp. 350-1 (1970 edition)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawakhxmulthwmthn xngkvs information overload hmaythung phawathibukhkhlprasbkhwamyungyakinkarekhaicpraednaelatdsinic xnenuxngmacakmikhxmulmakekinip thanxngediywkb khwamruthwmhw exatwimrxd hrux makhmxmakkhwam sphthniidrbkhwamniym ephraa ichinhnngsuxkhaydikhxngtn chux kh s 1970 aela kichinhnngsuxkhxngtn chux The Managing of Organizations kh s 1964 sphthaelaaenwkhiddngklawni mimakxnxinethxrent txngkarxangxing thxfelxrxthibaysphthni odyepriybethiybwa phawakhxmulthwmthnkhuxkaridrbrukhwamrusukmakekinip sensory overload in thngni karrbrukhwamrusukmakekinipepnsphththierimichinthswrrs 1950 aelathukmxngwaepnsaehtukhxngkarimmismathiaelakhadkartxbsnxng thxfelxrniyamphawakhxmulthwmthnwamiphlkrathblksnaediywkn aetekidkbkarthanganthangkarrbruinradbthisungkwa ekhaekhiynwa emuxpceckbukhkhltkxyuinphawathisthankarnepliynxyangrwderwaelaxyangphidprkti hruxxyuinbribththiimekhyphbprasbmakxn bukhkhlnncamikhwamaemnyainkarkhadkarnldlng ekhacaimsamarthpraeminxyangthuktxngidxiktxipwaphvtikrrmthimiehtuphlaebbihnthiechuxicid xangxingYang C C Chen Hsinchun Honga Kay 2003 Visualization of large category map for Internet browsing Decision Support Systems 35 1 89 102 doi 10 1016 S0167 9236 02 00101 X Gross Bertram M 1964 The Managing of Organizations The Administrative Struggle p 856 An article in Science magazine in 1959 about a conference held in June 1958 at Harvard Medical School mentions that Donald B Lindsley had given a paper titled Are there common factors in sensory deprivation sensory distortion and sensory overload Meetings in Science Vol 129 No 3343 Jan 23 1959 pp 221 225 Future Shock pp 350 1 1970 edition