ฟูริงกะซัน (ญี่ปุ่น: 風林火山; โรมาจิ: ふうりんかざん; : Fūrinkazan โดยศัพท์แปลว่า "ลม, ป่า, ไฟ, ภูเขา") เป็นชื่อของธงออกศึกประจำกองทัพของทะเกะดะ ชิงเง็น ไดเมียวและขุนศึกผู้มีชื่อเสียงแห่ง
ลักษณะ
ธงฟูริงกะซันมีลักษณะเป็นธงแบบญี่ปุ่นที่เรียกว่า บนธงมีข้อความเขียนด้วยอักษรจีน (คันจิ) เป็นใจความอันมีความหมายว่า "รวดเร็วประหนึ่งสายลม สงบนิ่งประหนึ่งพงไพร จู่โจมว่องไวประหนึ่งเปลวเพลิง หนักแน่นมั่นคงประหนึ่งขุนเขา" ใจความดังกล่าวนี้ อ้างอิงถึงหลักยุทธศาสตร์ในตำราพิชัยสงครามของซุนวู บทที่ 7 ซึ่งมีใจความตามต้นฉบับดังนี้
- บทที่ 7 ประโยคที่ 17 :
- "故其疾如風,其徐如林"
- ด้วยเหตุนี้ จึงมีความเร็วเหมือนลมเพชรหึง เชื่องช้าประหนึ่งแมกไม้ในพงไพร
- บทที่ 7 ประโยคที่ 18:
- "侵掠如火,不動如山"
- ราวีเฉกเช่นไฟประลัยกัลป์ หนักแน่นเล่ห์ปานภูผา
- (หมายเหตุ: คำแปลภาษาไทยในที่นี้คัดจากตำราพิชัยสงครามซุนวู ฉบับแปลและเรียบเรียงโดย เสถียร วีรกุล เมื่อ พ.ศ. 2495)
ประวัติ
ตั้งแต่สมัยเอโดะเป็นต้นมาได้มีการใช้ประโยค ๆ นี้เพื่อให้นึกภาพลักษณ์ของกองทัพทาเคดะ เพื่อใช้กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น หรือเอาไว้พูดปิดท้ายในสถานการ์ณที่คับขันหรือคลุมเครืออีกด้วย อีกทั้งยังมีคำกล่าวเอาไว้ในบทประพันธ์ของซุนวู เรื่อง บทที่ 7 ที่ได้กล่าวเอาไว้เป็นประโยคบางส่วนเกี่ยวกับเรื่องของการเดินทัพของกองทหารเอาไว้ว่า 「故其疾如風、其徐如林、侵掠如火、難知如陰、不動如山、動如雷霆。」 หรือก็คือ (ว่องไวดั่งสายลม เงียบสงบดั่งผืนป่า ดุดันดั่งไฟ รอบรู้ดั่งเงา มั่งคงดั่งภูเขา เคลื่อนไหวดั่งสายฟ้า) อีกทั้งยังมีกล่าวอ้างอิงเอาไว้อีกดังนี้ (สิ่งที่เรียกว่าสงครามนั้น คือการหลอกล่อศัตรู การเคลื่อนไหวอย่างได้เปรียบ การกระจายตัว การรวมตัว และการเปลี่ยนแปลง) ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถที่จะเปรียบได้กับวลีที่ว่า เคลื่อนไหวว่องไวดั่งสายลม วางกองกำลังได้แนบเนียนดั่งผืนป่า ถึงแม้จะอยู่ใกล้กับศัตรูก็สามารถตรวจจับได้ยาก ฉวยโอกาสโจมตีด้วยพละกำลังดั่งไฟ เคลื่อนไหวออกมาโดยไม่ให้รู้ตัวดั่งเงา ทลายกลยุทธ์เบี่ยงเบนความสนใจอันชาญฉลาดของศัตรูดั่งภูเขา เจาะทะลุทะลวงความคาดหมายของศัตรูโดยไม่ทันตั้งตัวตั้งแต่เริ่มการโจมตีดั่งสายฟ้าฟาด) หรือหมายความว่า ทำให้ศัตรูปั่นป่วนนั่นเอง นอกจากนี้ ในแต่ละตำราก็ยังมีกรณีที่ถูกเขียนในทางตรงกันข้ามระหว่างประโยคที่ว่า จับไม่ได้ดั่งเงา กับ มั่นคงดั่งภูเขาอีกด้วย ทางคุณ โยชิโอะ ทาเคอุจิ นักวิชาการตะวันออก ได้กล่าวเอาไว้ว่า พอมาคิดถึงเนื้อแท้ของมันแล้ว ในประโยคท้ายที่ธงของซุนวู ก็ไม่มีประโยคที่ว่า จับไม่ได้ดั่งเงา
ที่มาที่ไปของธงของ ทาเคดะ ชินเกน
การปรากฏตัวครั้งแรกของวลีนี้นั้น เกิดขึ้นจากการที่ ทาเคดะ ชินเกน ได้สั่งให้ ไคซัน โจวคิ เขียนเอาไว้ที่ธงของกองทัพ ส่วนในเรื่องของธงนี้ถูกสร้างมาตั้งแต่เมื่อไหร่นั้นยังไม่มีใครลงบันทึกเอาไว้จึงไม่มีใครรู้ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อไหร่แต่ ได้พบในตำราที่ โคโย กุนคัง ได้เขียนกล่าวเอาไว้ว่าเริ่มใช้กันมาตั้งแต่ปี 1561เป็นต้นมา คำวลีนี้ ถือว่าเป็นวลีที่สร้างยุคสมัยเลยทีเดียว เพราะได้มีการตรวจพบธงจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นที่เมืองโคชู วัดจูโปงจิ ศาลเจ้าทาเคดะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่วัดจูโปงจินั้นมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- 山梨市公式サイト 市指定文化財『孫子の旗』解説 2011-06-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
furingkasn yipun 風林火山 ormaci ふうりんかざん thbsphth Furinkazan odysphthaeplwa lm pa if phuekha epnchuxkhxngthngxxksukpracakxngthphkhxngthaekada chingengn idemiywaelakhunsukphumichuxesiyngaehngthngfuringkasnlksnathngfuringkasnmilksnaepnthngaebbyipunthieriykwa bnthngmikhxkhwamekhiyndwyxksrcin khnci epnickhwamxnmikhwamhmaywa rwderwprahnungsaylm sngbningprahnungphngiphr cuocmwxngiwprahnungeplwephling hnkaennmnkhngprahnungkhunekha ickhwamdngklawni xangxingthunghlkyuththsastrintaraphichysngkhramkhxngsunwu bththi 7 sungmiickhwamtamtnchbbdngni bththi 7 praoykhthi 17 故其疾如風 其徐如林 dwyehtuni cungmikhwamerwehmuxnlmephchrhung echuxngchaprahnungaemkiminphngiphrbththi 7 praoykhthi 18 侵掠如火 不動如山 rawiechkechnifpralyklp hnkaennelhpanphupha hmayehtu khaaeplphasaithyinthinikhdcaktaraphichysngkhramsunwu chbbaeplaelaeriyberiyngody esthiyr wirkul emux ph s 2495 prawtitngaetsmyexodaepntnmaidmikarichpraoykh niephuxihnukphaphlksnkhxngkxngthphthaekhda ephuxichkratunihekidkhwamkratuxruxrn hruxexaiwphudpidthayinsthankarnthikhbkhnhruxkhlumekhruxxikdwy xikthngyngmikhaklawexaiwinbthpraphnthkhxngsunwu eruxng bththi 7 thiidklawexaiwepnpraoykhbangswnekiywkberuxngkhxngkaredinthphkhxngkxngthharexaiwwa 故其疾如風 其徐如林 侵掠如火 難知如陰 不動如山 動如雷霆 hruxkkhux wxngiwdngsaylm engiybsngbdngphunpa dudndngif rxbrudngenga mngkhngdngphuekha ekhluxnihwdngsayfa xikthngyngmiklawxangxingexaiwxikdngni singthieriykwasngkhramnn khuxkarhlxklxstru karekhluxnihwxyangidepriyb karkracaytw karrwmtw aelakarepliynaeplng dwyehtuni cungsamarththicaepriybidkbwlithiwa ekhluxnihwwxngiwdngsaylm wangkxngkalngidaenbeniyndngphunpa thungaemcaxyuiklkbstruksamarthtrwccbidyak chwyoxkasocmtidwyphlakalngdngif ekhluxnihwxxkmaodyimihrutwdngenga thlayklyuththebiyngebnkhwamsnicxnchaychladkhxngstrudngphuekha ecaathaluthalwngkhwamkhadhmaykhxngstruodyimthntngtwtngaeterimkarocmtidngsayfafad hruxhmaykhwamwa thaihstrupnpwnnnexng nxkcakni inaetlatarakyngmikrnithithukekhiyninthangtrngknkhamrahwangpraoykhthiwa cbimiddngenga kb mnkhngdngphuekhaxikdwy thangkhun oychioxa thaekhxuci nkwichakartawnxxk idklawexaiwwa phxmakhidthungenuxaethkhxngmnaelw inpraoykhthaythithngkhxngsunwu kimmipraoykhthiwa cbimiddngengathimathiipkhxngthngkhxng thaekhda chineknkarprakttwkhrngaerkkhxngwlininn ekidkhuncakkarthi thaekhda chinekn idsngih ikhsn ocwkhi ekhiynexaiwthithngkhxngkxngthph swnineruxngkhxngthngnithuksrangmatngaetemuxihrnnyngimmiikhrlngbnthukexaiwcungimmiikhrruwaerimichtngaetemuxihraet idphbintarathi okhoy kunkhng idekhiynklawexaiwwaerimichknmatngaetpi 1561epntnma khawlini thuxwaepnwlithisrangyukhsmyelythiediyw ephraaidmikartrwcphbthngcanwnmak imwacaepnthiemuxngokhchu wdcuopngci salecathaekhda odyechphaaxyangyingthiwdcuopngcinnmichuxesiyngepnxyangmak duephimaehlngkhxmulxun山梨市公式サイト 市指定文化財 孫子の旗 解説 2011 06 13 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamthngkhxngxngkhkrhruxrthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk bthkhwampraethsyipunniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk