ฟังก์ชันกระตุ้น (activation function) หรือ ฟังก์ชันถ่ายโอน (transfer function) คือฟังก์ชันที่กำหนดค่าขาออกจากผลรวมบางอย่างของค่าในแต่ละเซลล์ในชั้นป้อนเข้าของโครงข่ายประสาทเทียม (ซึ่งมักเป็นผลรวมถ่วงน้ำหนัก) โดยทั่วไปแล้วจะใช้เป็นฟังก์ชัน และมักเป็น
ภาพรวม
ในแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมที่นิยมใช้กันนั้น เซลล์ในแต่ละชั้นจะรับค่าป้อนเข้าแล้วคำนวณผลรวมถ่วงน้ำหนักจากนั้นจึงป้อนให้กับฟังก์ชันกระตุ้นเพื่อเป็นค่าขาออกสำหรับชั้นถัดไป
ในสูตรดังต่อไปนี้ คือฟังก์ชันกระตุ้น
ฟังก์ชันกระตุ้นในยุคเริ่มแรกนิยมใช้ฟังก์ชันขั้นบันได แต่หลังจากที่มีการพัฒนาวิธีขึ้นมาในปี 1986 จึงนิยมใช้ฟังก์ชันซิกมอยด์
ปัจจุบันฟังก์ชันกระตุ้นที่ได้รับการกล่าวว่าดีที่สุดคือฟังก์ชัน ()
อ้างอิง
- Yann LeCun; Yoshua Bengio; Geoffrey Hinton (2015-05-28). "Deep learning". Nature. 521 (7553): 436–444. doi:10.1038/nature14539.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
fngkchnkratun activation function hrux fngkchnthayoxn transfer function khuxfngkchnthikahndkhakhaxxkcakphlrwmbangxyangkhxngkhainaetlaesllinchnpxnekhakhxngokhrngkhayprasathethiym sungmkepnphlrwmthwngnahnk odythwipaelwcaichepnfngkchn aelamkepnphaphrwminaebbcalxngokhrngkhayprasathethiymthiniymichknnn esllinaetlachncarbkhapxnekhaaelwkhanwnphlrwmthwngnahnkcaknncungpxnihkbfngkchnkratunephuxepnkhakhaxxksahrbchnthdip insutrdngtxipni f displaystyle varphi khuxfngkchnkratun y f i 1mwixi b displaystyle y varphi left sum i 1 m w i x i b right fngkchnkratuninyukherimaerkniymichfngkchnkhnbnid aethlngcakthimikarphthnawithikhunmainpi 1986 cungniymichfngkchnsikmxyd pccubnfngkchnkratunthiidrbkarklawwadithisudkhuxfngkchn xangxingYann LeCun Yoshua Bengio Geoffrey Hinton 2015 05 28 Deep learning Nature 521 7553 436 444 doi 10 1038 nature14539