พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา (อังกฤษ: Korat Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ ณ อาคาร 10 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เปิดให้บริการอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2557
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2523 |
---|---|
ที่ตั้ง | อาคาร 10 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 14°59′02″N 102°06′50″E / 14.98375°N 102.1140°E |
ผู้อำนวยการ | ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ |
ภัณฑารักษ์ | สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
เว็บไซต์ | พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา |
ประวัติ
พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ได้มีการพัฒนามาจาก “หอวัฒนธรรมนครราชสีมา” เมื่อ พ.ศ. 2523 เมื่อครั้งสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ยังเป็นศูนย์ศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยครูนครราชสีมา โดยมีว่าที่ ร.ต. ถาวร สุบงกช เป็นหัวหน้าศูนย์ในขณะนั้น โดยใช้ห้อง 514-515 เป็นสถานที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและสิ่งอื่นๆ ที่ได้รับจากการบริจาคและขอซื้อเพิ่มเติมจนถึงปี พ.ศ. 2529 ได้ย้ายหอวัฒนธรรมไปอยู่ที่ อาคาร 2 ซึ่งเป็นอาคารไม้ดั้งเดิมของสถาบัน
จากนั้น พ.ศ. 2538 ได้มีการเคลื่อนย้าย อาคาร 1 และอาคาร 2 (โดยวิธีการดีดและเคลื่อนย้ายโดยรางรถไฟ) ไปยุบรวมอาคารทั้งสองและให้หมายเลขอาคารว่าอาคาร 1 ซึ่งหอวัฒนธรรม ก็ได้ย้ายไปตั้ง ณ อาคาร 1 ด้วย เช่นกัน
พ.ศ. 2555 ได้มีการรื้อถอนอาคาร 1 เพื่อดำเนินการก่อสร้างศูนย์รวมกิจการนักศึกษาและหอประชุมนานาชาติ ดังนั้นในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 หอวัฒนธรรมจึงได้ถูกรื้อถอนอีกครั้งหนึ่ง
พ.ศ. 2556 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์ อธิการบดีในขณะนั้น ได้อนุมัติงบประมาณจำนวน 4.5 ล้านบาท เพื่อให้อาจารย์วิลาวัลย์ วัชระเกียรติศักดิ์ ผู้อำนวยการสำนักฯ ดำเนินการออกแบบและจัดสร้างนิทรรศการ ณ อาคาร 10 ซึ่งเป็นอาคารเดิมของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้งานมาตั้งแต่ พ.ศ. 2515 รวมเวลากว่า 40 ปี โดยได้ปรับปรุงบทและเนื้อหาการจัดแสดงโดยใช้รูปแบบเดิมที่เคยจัดแสดง ณ อาคาร 1 มาเป็นฐาน โดยต่อยอดการพัฒนาโดยเน้นความเชื่อมโยงของเรื่องราวร่วมกับโบราณวัตถุที่จัดแสดง และพัฒนาเนื้อหาในส่วนของความเจริญของจังหวัดนครราชสีมาในด้านต่างๆ เพิ่มเติม เพื่อให้เห็นพัฒนาการของจังหวัดนครราชสีมาที่มีเป็นมาอย่างยาวนาน โดยใช้ชื่อ “พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา” ภายใต้แนวคิด "บรรยากาศย้อนอดีต เพลินพินิจนครราชสีมา" ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 ในสมัยการบริหารของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อำนวยการสำนักฯ คนปัจจุบัน
พ.ศ. 2558 พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 1 ใน 60 แหล่ง เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
พ.ศ. 2559 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยครูนครราชสีมา ดำเนินการจัดสร้างเรือนโคราช ส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาซุมโคราช ได้รับสนับสนุนงบประมาณสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยครูนครราชสีมา โดยมี ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ์เป็นประธาน และมีผศ.นฤมล ปิยวิทย์ เป็นผู้ัดำเนินการหลัก
พ.ศ. 2561 เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2561 ประเภทอาคารสถาบันและอาคารสาธารณะ จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมป์
พื้นที่จัดแสดง
แบ่งหัวข้อการจัดแสดงออกเป็น 7 ห้อง ดังนี้
- ต้นกำเนิดอารยธรรม
- สมัยทวารวดี
- สมัยลพบุรี
- สมัยอยุธยา
- สมัยรัตนโกสินทร์
- มหานครแห่งอีสาน
- ของดีโคราช (นิทรรศการหมุนเวียน)
ห้องต้นกำเนิดอารยธรรม
เป็นส่วนนำเสนอเนื้อหาในการค้นพบมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่มีการศึกษาค้นคว้าอย่างต่อเนื่องในแถบลุ่มแม่น้ำมูลตอนต้น โดยเฉพาะในเขตจังหวัดนครราชสีมาซึ่งมีประวัติศาสตร์อายุสมัยไม่ต่ำกว่า 4,500 ปี หลายแหล่ง สามารถฉายภาพอดีตให้เห็นว่าบรรพบุรุษในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีการดำรงชีวิตอย่างไรบ้าง รวมถึงให้ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อตอบคำถามว่า “ทำไมโบราณคดีจึงศึกษาวิจัย ณ ลุ่มแม่น้ำมูลตอนต้น เป็นจำนวนมาก”
ห้องสมัยทวารวดี
นำเสนอเนื้อหาถึงชุมชนโบราณสมัยประวัติศาสตร์แรกเริ่มได้เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ ณ เมืองเสมา ราวพุทธศตวรรษที่ 12 โดยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย คือนำศาสนาพุทธและพราหมณ์เข้ามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน แต่คงขนบธรรมเนียมบางอย่างไว้ เช่น การฝังศพนอนหงาย เหยียดยาว รวมทั้งอุทิศสิ่งของต่างๆ ให้กับศพซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิมตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แทนที่จะปลงศพด้วยการเผาตามแบบศาสนาพุทธ
ห้องสมัยลพบุรี
นำเสนอเนื้อหาถึงวัฒนธรรมขอมที่ได้แผ่อิทธิพลมายังภาคอีสาน ส่งผลต่อความความเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงสมัยลพบุรี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านศิลปกรรมและวัฒนธรรมทางความเชื่อ ซึ่งสะท้อนอยู่ในโบราณสถานที่ได้รับแบบอย่างจากวัฒนธรรมขอมที่สำคัญ ได้แก่ แบบแผนการสร้างเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยม การสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่เรียกว่าบาราย ศาสนสถานขนาดใหญ่ในรูปแบบปราสาทหิน เครื่องปั้นดินเผาแบบขอม เป็นต้น
ห้องสมัยอยุธยา
นำเสนอเนื้อหาในส่วนของการก่อตั้ง "เมืองนครราชสีมา" ซึ่งเริ่มต้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีฐานะเป็นเมืองชั้นโท มีบทบาทสำคัญในการเป็นฉนวนป้องกันการรุกรานของขแมร์ (เขมร) ลาว ญวน และเป็นหัวเมืองใหญ่ควบคุมเขมรป่าดงที่ขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา ทำให้ได้มีการสร้างป้อมปราการให้มั่นคงแบบฝรั่ง และส่งเจ้านายผู้ใกล้ชิดมาปกครองเมือง โดยได้นำรูปแบบการออกแบบผังเมืองและสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะตามแบบกรุงศรีอยุธยา ซึ่งยังคงหลงเหลือปรากฏให้เห็นจนถึงปัจจุบัน
ห้องสมัยรัตนโกสินทร์
นำเสนอเนื้อหาของเมืองนครราชสีมาในสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้เมืองนครราชสีมามีฐานะเป็นเมืองเอก ส่วนการดำรงชีวิตของชาวโคราชในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นถือว่าไม่ต่างจากในสมัยอยุธยามากนัก เนื่องจากการเดินทางไปเมืองหลวงยังไม่สะดวกเท่าที่ควร ในด้านทำเลที่ตั้งนครราชสีมายังเป็นเมืองที่คอยสกัดกั้นการรุกรานจากข้าศึกในด้านภาคอีสานจนเกิดวีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ของคุณหญิงโมซึ่งได้รับการสถาปนาเป็นท้าวสุรนารีในภายหลัง
ห้องมหานครแห่งอีสาน
นำเสนอเนื้อหาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นระยะที่มหาอำนาจตะวันตกกำลังดำเนินนโยบายแผ่ขยายอำนาจทางการเมืองเข้ามาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงทำให้มีการปฏิรูปการปกครองจัดหัวเมืองเป็นมณฑลเทศาภิบาล และยังใช้เมืองนครราชสีมาเป็นแหล่งยุทธศาสตร์ทางทหาร ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นตัวอย่างของการยอมรับอำนาจของรัฐบาลกลางได้อย่างผสมกลมกลืนกันในทางสังคมและทางวัฒนธรรมของชาวกรุงเทพฯและชาวอีสานอีกด้วย
และในส่วนนี้ยังนำเสนอเนื้อหาในการจัดสร้างสนามกีฬาเพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ 333 ปีเมืองนครราชสีมา ในปี 2547 และได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาซีเกมส์และอาเซียนพาราเกมส์ ในปี 2550-2551นับเป็นก้าวสำคัญที่ทำให้เมืองนครราชสีมาพัฒนาไปสู่การเป็นมหานครแห่งการกีฬา
ห้องของดีเมืองโคราช
ได้นำเสนอเนื้อหาในส่วนของดีโคราชที่มีอย่างมากมาย โดยเฉพาะในคำขวัญเก่าของจังหวัด คือ “โคราชลือเลื่อง เมืองก่อนเก่า นกเขาคารม อ้อยคันร่ม ส้มขี้ม้า ผ้าหางกระรอก” และได้คัดเลือกบางส่วนมาจัดแสดงเพื่อนำเสนอให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ได้รู้จักว่าโคราชมีของดีอีกมากมายที่ได้รับการกล่าวขวัญในอดีต ทั้งมวยโคราช ผ้าหางกระรอก รถสามล้อถีบ รำโทนโคราช และเพลงโคราช และนอกจากนี้ยังได้รองรับการจัดนิทรรศการหมุนเวียนอีกด้วย
แหล่งข้อมูลอื่น
- สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phiphithphnthemuxngnkhrrachsima xngkvs Korat Museum epnphiphithphnthtngxyu n xakhar 10 sanksilpaaelawthnthrrm mhawithyalyrachphtnkhrrachsima epidihbrikarxyangimepnthangkaremuxeduxnemsayn ph s 2557phiphithphnthemuxngnkhrrachsimakxtngph s 2523thitngxakhar 10 sanksilpaaelawthnthrrm mhawithyalyrachphtnkhrrachsimaphikdphumisastr14 59 02 N 102 06 50 E 14 98375 N 102 1140 E 14 98375 102 1140phuxanwykarphs dr nthkitti xinthrswrrkhphntharkssanksilpaaelawthnthrrm mhawithyalyrachphtnkhrrachsimaewbistphiphithphnthemuxngnkhrrachsimaprawtiphiphithphnthemuxngnkhrrachsima idmikarphthnamacak hxwthnthrrmnkhrrachsima emux ph s 2523 emuxkhrngsanksilpaaelawthnthrrm mhawithyalyrachphtnkhrrachsima yngepnsunysilpwthnthrrmkhxngwithyalykhrunkhrrachsima odymiwathi r t thawr subngkch epnhwhnasunyinkhnann odyichhxng 514 515 epnsthanthiekbrwbrwmobranwtthu silpwtthuaelasingxun thiidrbcakkarbricakhaelakhxsuxephimetimcnthungpi ph s 2529 idyayhxwthnthrrmipxyuthi xakhar 2 sungepnxakharimdngedimkhxngsthabn caknn ph s 2538 idmikarekhluxnyay xakhar 1 aelaxakhar 2 odywithikardidaelaekhluxnyayodyrangrthif ipyubrwmxakharthngsxngaelaihhmayelkhxakharwaxakhar 1 sunghxwthnthrrm kidyayiptng n xakhar 1 dwy echnkn ph s 2555 idmikarruxthxnxakhar 1 ephuxdaeninkarkxsrangsunyrwmkickarnksuksaaelahxprachumnanachati dngnninwnthi 24 phvscikayn ph s 2555 hxwthnthrrmcungidthukruxthxnxikkhrnghnung ph s 2556 phuchwysastracary dr esawnit esanannth xthikarbdiinkhnann idxnumtingbpramancanwn 4 5 lanbath ephuxihxacarywilawly wchraekiyrtiskdi phuxanwykarsank daeninkarxxkaebbaelacdsrangnithrrskar n xakhar 10 sungepnxakharedimkhxngkhnawithyasastraelaethkhonolyi thiichnganmatngaet ph s 2515 rwmewlakwa 40 pi odyidprbprungbthaelaenuxhakarcdaesdngodyichrupaebbedimthiekhycdaesdng n xakhar 1 maepnthan odytxyxdkarphthnaodyennkhwamechuxmoyngkhxngeruxngrawrwmkbobranwtthuthicdaesdng aelaphthnaenuxhainswnkhxngkhwamecriykhxngcnghwdnkhrrachsimaindantang ephimetim ephuxihehnphthnakarkhxngcnghwdnkhrrachsimathimiepnmaxyangyawnan odyichchux phiphithphnthemuxngnkhrrachsima phayitaenwkhid brryakasyxnxdit ephlinphinicnkhrrachsima sungkxsrangaelwesrcineduxnemsayn ph s 2557 insmykarbriharkhxngphuchwysastracary dr nthkitti xinthrswrrkh phuxanwykarsank khnpccubn ph s 2558 phiphithphnthemuxngnkhrrachsima idrbkarkhdeluxkcakkrmsngesrimwthnthrrm ihepnaehlngeriynru 1 in 60 aehlng ephuxechlimphraekiyrtismedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari enuxnginoxkaschlxngphrachnmayu 5 rxb 2 emsayn 2558 ph s 2559 sanksilpaaelawthnthrrm rwmkbsmakhmsisyekawithyalykhrunkhrrachsima daeninkarcdsrangeruxnokhrach swnhnungkhxngokhrngkarphthnasumokhrach idrbsnbsnunngbpramansmakhmsisyekawithyalykhrunkhrrachsima odymi dr niecht sunthrphithksepnprathan aelamiphs nvml piywithy epnphudaeninkarhlk ph s 2561 eruxnokhrach mhawithyalyrachphtnkhrrachsima idrbrangwlxnurkssilpsthaptykrrmdiedn pracapi 2561 praephthxakharsthabnaelaxakharsatharna caksmakhmsthapniksyam inphrabrmrachupthmpphunthicdaesdngaebnghwkhxkarcdaesdngxxkepn 7 hxng dngni tnkaenidxarythrrm smythwarwdi smylphburi smyxyuthya smyrtnoksinthr mhankhraehngxisan khxngdiokhrach nithrrskarhmunewiyn hxngtnkaenidxarythrrm hxngtnkaenidxarythrrm epnswnnaesnxenuxhainkarkhnphbmnusyyukhkxnprawtisastrthimikarsuksakhnkhwaxyangtxenuxnginaethblumaemnamultxntn odyechphaainekhtcnghwdnkhrrachsimasungmiprawtisastrxayusmyimtakwa 4 500 pi hlayaehlng samarthchayphaphxditihehnwabrrphburusinsmykxnprawtisastr mikardarngchiwitxyangirbang rwmthungihkhxmulebuxngtnephuxtxbkhathamwa thaimobrankhdicungsuksawicy n lumaemnamultxntn epncanwnmak hxngsmythwarwdi hxngsmythwarwdi naesnxenuxhathungchumchnobransmyprawtisastraerkerimidekhamatnghlkaehlngxyu n emuxngesma rawphuththstwrrsthi 12 odyidrbxiththiphlcakwthnthrrmxinediy khuxnasasnaphuththaelaphrahmnekhamaprbichinchiwitpracawn aetkhngkhnbthrrmeniymbangxyangiw echn karfngsphnxnhngay ehyiydyaw rwmthngxuthissingkhxngtang ihkbsphsungepnkhwamechuxdngedimtngaetsmykxnprawtisastr aethnthicaplngsphdwykarephatamaebbsasnaphuthth hxngsmylphburi hxngsmylphburi naesnxenuxhathungwthnthrrmkhxmthiidaephxiththiphlmayngphakhxisan sngphltxkhwamkhwamepliynaeplngxyangmakinchwngsmylphburi pramanphuththstwrrsthi 16 19 odyechphaaxyangyingdansilpkrrmaelawthnthrrmthangkhwamechux sungsathxnxyuinobransthanthiidrbaebbxyangcakwthnthrrmkhxmthisakhy idaek aebbaephnkarsrangemuxngepnrupsiehliym karsrangxangekbnakhnadihy thieriykwabaray sasnsthankhnadihyinrupaebbprasathhin ekhruxngpndinephaaebbkhxm epntn hxngsmyxyuthyahxngsmyxyuthya naesnxenuxhainswnkhxngkarkxtng emuxngnkhrrachsima sungerimtninsmykrungsrixyuthyaepnrachthani mithanaepnemuxngchnoth mibthbathsakhyinkarepnchnwnpxngknkarrukrankhxngkhaemr ekhmr law ywn aelaepnhwemuxngihykhwbkhumekhmrpadngthikhuntxkrungsrixyuthya thaihidmikarsrangpxmprakarihmnkhngaebbfrng aelasngecanayphuiklchidmapkkhrxngemuxng odyidnarupaebbkarxxkaebbphngemuxngaelasthaptykrrmthimilksnatamaebbkrungsrixyuthya sungyngkhnghlngehluxpraktihehncnthungpccubn hxngsmyrtnoksinthr hxngsmyrtnoksinthr naesnxenuxhakhxngemuxngnkhrrachsimainsmyrtnoksinthr sungtnrchsmyphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolk oprdekla ihemuxngnkhrrachsimamithanaepnemuxngexk swnkardarngchiwitkhxngchawokhrachinyukhrtnoksinthrtxntnthuxwaimtangcakinsmyxyuthyamaknk enuxngcakkaredinthangipemuxnghlwngyngimsadwkethathikhwr indanthaelthitngnkhrrachsimayngepnemuxngthikhxyskdknkarrukrancakkhasukindanphakhxisancnekidwirkrrmthungsmvththikhxngkhunhyingomsungidrbkarsthapnaepnthawsurnariinphayhlng hxngmhankhraehngxisan naesnxenuxhainrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw sungepnrayathimhaxanactawntkkalngdaeninnoybayaephkhyayxanacthangkaremuxngekhamathangphakhtawnxxkechiyngehnux cungthaihmikarptirupkarpkkhrxngcdhwemuxngepnmnthlethsaphibal aelayngichemuxngnkhrrachsimaepnaehlngyuththsastrthangthhar yingipkwannyngepntwxyangkhxngkaryxmrbxanackhxngrthbalklangidxyangphsmklmklunkninthangsngkhmaelathangwthnthrrmkhxngchawkrungethphaelachawxisanxikdwy aelainswnniyngnaesnxenuxhainkarcdsrangsnamkilaephuxechlimchlxngkhrbrxb 333 piemuxngnkhrrachsima inpi 2547 aelaidrbekiyrtiihepnecaphaphkaraekhngkhnkilasiekmsaelaxaesiynpharaekms inpi 2550 2551nbepnkawsakhythithaihemuxngnkhrrachsimaphthnaipsukarepnmhankhraehngkarkila hxngkhxngdiemuxngokhrach idnaesnxenuxhainswnkhxngdiokhrachthimixyangmakmay odyechphaainkhakhwyekakhxngcnghwd khux okhrachluxeluxng emuxngkxneka nkekhakharm xxykhnrm smkhima phahangkrarxk aelaidkhdeluxkbangswnmacdaesdngephuxnaesnxiheyawchnkhnrunihmidruckwaokhrachmikhxngdixikmakmaythiidrbkarklawkhwyinxdit thngmwyokhrach phahangkrarxk rthsamlxthib raothnokhrach aelaephlngokhrach aelanxkcakniyngidrxngrbkarcdnithrrskarhmunewiynxikdwyaehlngkhxmulxunsanksilpaaelawthnthrrm mhawithyalyrachphtnkhrrachsimaewbistxyangepnthangkarkhxngphiphithphnthemuxngnkhrrachsimabthkhwamxakhar hrux sthanthisakhyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk