บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
บทความนี้ไม่มีจาก |
พิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (อังกฤษ: Montreal Protocol on Substances That Deplete the Ozone Layer) คือสนธิสัญญาสากลที่กำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้ เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ตั้งแต่นั้นมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงพิธีสาร 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรก ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2533 (1990), ครั้งที่สอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมื่อ พ.ศ. 2535 (1992), ครั้งที่สาม ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อ พ.ศ. 2538 (1995), ครั้งที่สี่ ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2540 (1997) และครั้งที่ห้า ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2542 (1999) เนื่องจากมีการนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งได้รับเสียงสนับสนุนและชื่นชมจากนานาประเทศและหลาย ๆ องค์กร พิธีสารมอนทรีออลจึงได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างการร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ
วันลงนาม | 16 กันยายน 1987 |
---|---|
ที่ลงนาม | มอนทรีออล |
วันมีผล | 1 มกราคม 1989 ถ้า 11 ชาติได้ให้สัตยาบันแล้ว |
เงื่อนไข | ให้สัตยาบัน 20 ชาติ |
ผู้ลงนาม | 46 |
ผู้ให้สัตยาบัน | 197 (สมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด รวมทั้งนีวเว หมู่เกาะคุก สันตะสำนัก และสหภาพยุโรป) |
ผู้เก็บรักษา | เลขาธิการสหประชาชาติ |
ภาษา |
ข้อสัญญาและจุดประสงค์
สนธิสัญญานี้มุ่งไปที่การจำกัดการใช้กลุ่มสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอน-ฮาโลเจนซึ่งพบว่ามีส่วนสำคัญในการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยสารทำลายชั้นโอโซนทั้งหมดนี้มีส่วนผสมของคลอรีนหรือโบรมีนประกอบอยู่ด้วย (ในขณะที่สารที่ประกอบด้วยฟลูออรีนเท่านั้นจะไม่ทำลายชั้นโอโซน) สนธิสัญญาได้จำแนกสารทำลายชั้นโอโซนออกเป็นกลุ่มๆ โดยแบ่งเป็นตารางเวลาที่ระบุถึงจำนวนปีที่การผลิตสารเหล่านี้จะต้องยุติลงและหมดสิ้นลงไปในที่สุด
จุดประสงค์ของสนธิสัญญานี้ได้ระบุไว้ในข้อสัญญาพิธีสาร โดยบรรดาประเทศที่ลงนามในพิธีสารได้แถลงว่า
- ...ผู้ลงนามในสัญญาทราบดีว่าการแพร่กระจายของสารประกอบหนึ่งๆ (สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน) ทั่วโลก ได้ทำให้ชั้นโอโซนหมดไปหรือเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในระดับที่สามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพของมวลมนุษยชาติและสิ่งแวดล้อมได้ ผู้ลงนามในสัญญาจึงตกลงที่จะปกป้องชั้นบรรยากาศโอโซน โดยการวางมาตรการล่วงหน้าเพื่อควบคุมการแพร่กระจายของสารประกอบที่ทำลายชั้นโอโซนทั่วโลกให้เท่ากับปริมาณโอโซนที่หมดไป พร้อมด้วยจุดมุ่งหมายสูงสุดในการกำจัดสารเหล่านี้ซึ่งจะเป็นไปตามพัฒนาการในด้านความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่กำลังก้าวไปข้างหน้า และผู้ลงนามในสัญญาก็รับรู้ด้วยว่าข้อกำหนดพิเศษจะต้องร่างขึ้นเพื่อให้ตรงกับความจำเป็นของประเทศที่กำลังพัฒนา...
บรรดาประเทศที่ลงนามในสัญญายังยินยอมที่จะดำเนินการจำกัดการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร (CFC) ประกอบอยู่ด้วยรวมไปถึง
- ภายใน พ.ศ. 2534-2535: ควบคุมระดับการใช้และการผลิตสารที่อยู่ในประเภทที่ 1 ของ Annex A ไม่ให้เกิน 150% ของระดับการใช้และการผลิตสารดังกล่าวในปี พ.ศ. 2529
- ภายใน พ.ศ. 2537: ควบคุมระดับการใช้และการผลิตสารที่อยู่ในประเภทที่ 1 ของ Annex A ไม่ให้เกิน 25% ของระดับการใช้และการผลิตสารดังกล่าวในปี พ.ศ. 2529
- ภายใน พ.ศ. 2539: ยุติการใช้และการผลิตสารที่อยู่ในประเภทที่ 1 ของ Annex A
ส่วนในสารชนิดอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มสารประเภทที่ 1 ของ Annex A (เช่น สารฮาลอน 1211, 1301, 2402; สาร CFC 13, 111, 112 ฯลฯ) และสารเคมีบางชนิดที่ต้องการมาตรการเฉพาะในการจำกัดการใช้และการผลิต (เช่น คาร์บอนเตตระคลอไรด์) นั้นจะถึงกำหนดยุติการใช้และผลิตช้ากว่ากลุ่มสารข้างต้น โดยคาดว่าจะสามารถยุติการใช้ได้ภายใน พ.ศ. 2553 ในขณะที่การยุติการใช้สาร HCFC ที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมน้อยกว่าเพิ่งเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2539 โดยคาดว่าจะสามารถหยุดการใช้และการผลิตสารนี้ได้อย่างสมบูรณ์ภายใน พ.ศ. 2573
มีข้อยกเว้นให้กับการใช้สารเหล่านี้ในกรณีที่เป็น "การใช้ที่สำคัญยิ่งยวด" และยังไม่สามารถหาตัวทดแทนได้ เช่นยาแบบพ่นเพื่อรักษาอาการหอบหืดและความผิดปกติอื่นๆ ของระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น
สารประกอบที่อยู่ในกลุ่มสารประเภทที่ 1 ของ Annex A ได้แก่
- CFCl3 ()
- CF2Cl2 ()
- C2F3Cl3 (CFC-113)
- C2F4Cl2 (CFC-114)
- C2F5Cl (CFC-115)
ประวัติ
หลังจากการยอมรับเพียง 2 เดือน ได้มีการตีพิมพ์บทความรายงานการสำรวจทวีปของคณะสำรวจชาว อังกฤษที่มี เป็นหัวหน้าคณะ ในรายงานได้เปิดเผยถึงปริมาณโอโซนที่ลดลงอย่างน่าวิตกในฤดูใบไม้ผลิ จนเกิดลักษณะ ที่เรียกว่า “หลุมโอโซน” (Ozone Hole) ขึ้นเหนือทวีปแอนตาร์คติคซึ่งลักษณะการเกิดหลุมโอโซนดังกล่าวนี้ได้ถูกตรวจพบ โดยดาวเทียมสำรวจของประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2523 แต่มิได้มีการนำข้อมูลมาพิจารณาเนื่องจากความเข้าใจผิดว่า ข้อมูลที่พบโดยบังเอิญนั้นเกิดจากความผิดพลาดของเครื่องมือและอุปกรณ์ แม้ในขณะนั้นสาเหตุของการเกิดหลุมโอโซนยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่ก็ได้มีการตั้งข้อสงสัยว่าสาร CFC อาจเป็นต้นเหตุของการเกิดหลุมโอโซน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phithisarmxnthrixxlwadwysarthalaychnbrryakasoxosn xngkvs Montreal Protocol on Substances That Deplete the Ozone Layer khuxsnthisyyasaklthikahndkhunephuxkhwbkhum ybyng aelarnrngkhihldkarphlitaelakarich ephuxrksachnbrryakasoxosnthierimcasuyslayipenuxngcaksarehlani odyphithisaridepidihpraethstang lngnamepnpraethsphakhismachikinwnthi 16 knyayn ph s 2530 1987 aelaerimichbngkhbtngaetwnthi 1 mkrakhm ph s 2532 1989 epntnma tngaetnnma idmikaraekikhprbprungphithisar 5 khrngdwykn khrngaerk n krunglxndxn shrachxanackr emux ph s 2533 1990 khrngthisxng n krungokhepnehekn praethsednmark emux ph s 2535 1992 khrngthisam n krungewiynna satharnrthxxsetriy emux ph s 2538 1995 khrngthisi n emuxngmxnthrixxl praethsaekhnada emux ph s 2540 1997 aelakhrngthiha n krungpkking satharnrthprachachncin emux ph s 2542 1999 enuxngcakmikarnaipichxyangkwangkhwang thngidrbesiyngsnbsnunaelachunchmcaknanapraethsaelahlay xngkhkr phithisarmxnthrixxlcungidrbkarykyxngihepntwxyangkarrwmmuxknrahwangpraethsinkaraekikhpyhainradbnanachatiphithisarmxnthrixxlwnlngnam16 knyayn 1987thilngnammxnthrixxlwnmiphl1 mkrakhm 1989 tha 11 chatiidihstyabnaelwenguxnikhihstyabn 20 chatiphulngnam46phuihstyabn197 smachikshprachachatithnghmd rwmthngniwew hmuekaakhuk sntasank aelashphaphyuorp phuekbrksaelkhathikarshprachachatiphasaxahrb cin xngkvs frngess rsesiy sepnhlumoxosnthiihythisudkhxngthwipaexntarktikthibnthukemuxknyayn 2006khxsyyaaelacudprasngkhsnthisyyanimungipthikarcakdkarichklumsarprakxbpraephthihodrkharbxn haolecnsungphbwamiswnsakhyinkarthalaychnbrryakasoxosn odysarthalaychnoxosnthnghmdnimiswnphsmkhxngkhlxrinhruxobrminprakxbxyudwy inkhnathisarthiprakxbdwyfluxxrinethanncaimthalaychnoxosn snthisyyaidcaaenksarthalaychnoxosnxxkepnklum odyaebngepntarangewlathirabuthungcanwnpithikarphlitsarehlanicatxngyutilngaelahmdsinlngipinthisud cudprasngkhkhxngsnthisyyaniidrabuiwinkhxsyyaphithisar odybrrdapraethsthilngnaminphithisaridaethlngwa phulngnaminsyyathrabdiwakaraephrkracaykhxngsarprakxbhnung sarthalaychnbrryakasoxosn thwolk idthaihchnoxosnhmdiphruxepliynaeplngipxyangmakinradbthisamarthsngphlesiytxsukhphaphkhxngmwlmnusychatiaelasingaewdlxmid phulngnaminsyyacungtklngthicapkpxngchnbrryakasoxosn odykarwangmatrkarlwnghnaephuxkhwbkhumkaraephrkracaykhxngsarprakxbthithalaychnoxosnthwolkihethakbprimanoxosnthihmdip phrxmdwycudmunghmaysungsudinkarkacdsarehlanisungcaepniptamphthnakarindankhwamruthangwithyasastrthikalngkawipkhanghna aelaphulngnaminsyyakrbrudwywakhxkahndphiesscatxngrangkhunephuxihtrngkbkhwamcaepnkhxngpraethsthikalngphthna brrdapraethsthilngnaminsyyayngyinyxmthicadaeninkarcakdkarphlitaelakarichphlitphnththimisar CFC prakxbxyudwyrwmipthung phayin ph s 2534 2535 khwbkhumradbkarichaelakarphlitsarthixyuinpraephththi 1 khxng Annex A imihekin 150 khxngradbkarichaelakarphlitsardngklawinpi ph s 2529phayin ph s 2537 khwbkhumradbkarichaelakarphlitsarthixyuinpraephththi 1 khxng Annex A imihekin 25 khxngradbkarichaelakarphlitsardngklawinpi ph s 2529phayin ph s 2539 yutikarichaelakarphlitsarthixyuinpraephththi 1 khxng Annex A swninsarchnidxun thiimidxyuinklumsarpraephththi 1 khxng Annex A echn sarhalxn 1211 1301 2402 sar CFC 13 111 112 l aelasarekhmibangchnidthitxngkarmatrkarechphaainkarcakdkarichaelakarphlit echn kharbxnettrakhlxird nncathungkahndyutikarichaelaphlitchakwaklumsarkhangtn odykhadwacasamarthyutikarichidphayin ph s 2553 inkhnathikaryutikarichsar HCFC thimiphltxsphaphaewdlxmnxykwaephingerimkhunemux ph s 2539 odykhadwacasamarthhyudkarichaelakarphlitsarniidxyangsmburnphayin ph s 2573 mikhxykewnihkbkarichsarehlaniinkrnithiepn karichthisakhyyingywd aelayngimsamarthhatwthdaethnid echnyaaebbphnephuxrksaxakarhxbhudaelakhwamphidpktixun khxngrabbthangedinhayic epntn sarprakxbthixyuinklumsarpraephththi 1 khxng Annex A idaek CFCl3 CF2Cl2 C2F3Cl3 CFC 113 C2F4Cl2 CFC 114 C2F5Cl CFC 115 prawtihlngcakkaryxmrbephiyng 2 eduxn idmikartiphimphbthkhwamrayngankarsarwcthwipkhxngkhnasarwcchaw xngkvsthimi epnhwhnakhna inraynganidepidephythungprimanoxosnthildlngxyangnawitkinvduibimphli cnekidlksna thieriykwa hlumoxosn Ozone Hole khunehnuxthwipaexntarkhtikhsunglksnakarekidhlumoxosndngklawniidthuktrwcphb odydawethiymsarwckhxngpraethsshrthxemrika tngaetplaypi ph s 2523 aetmiidmikarnakhxmulmaphicarnaenuxngcakkhwamekhaicphidwa khxmulthiphbodybngexiynnekidcakkhwamphidphladkhxngekhruxngmuxaelaxupkrn aeminkhnannsaehtukhxngkarekidhlumoxosnyngimepnthiaenchd aetkidmikartngkhxsngsywasar CFC xacepntnehtukhxngkarekidhlumoxosn bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk