พายุสุริยะ (อังกฤษ: Solar storm) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดจากการที่ผิวดวงอาทิตย์ระเบิดขึ้นมาที่เรียกว่า "การระเบิดลุกจ้า" ซึ่งทำให้พุ่งออกมาจำนวนมหาศาล. ประจุไฟฟ้าที่พุ่งออกมานี้จะรบกวนระบบการสื่อสาร ส่งผลทำให้การสื่อสารโทรคมนาคมเป็นอัมพาต เช่น ทำให้เครื่องบินไม่สามารถติดต่อกับหอบังคับการได้ โทรศัพท์มือถือใช้งานไม่ได้ รวมไปถึงดาวเทียมเสียหาย. การทำนายความรุนแรงของพายุสุริยะ สามารถทำได้โดยตรวจสอบจุดมืดดวงอาทิตย์ เนื่องจากจุดมืดเกิดจากความแปรปรวนของสนามแม่เหล็ก เมื่อมีจุดมืดมากขึ้นก็จะส่งผลให้อนุภาคกระแสไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้เกิดความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น.
สาเหตุ
สาเหตุการเกิดของพายุสุริยะจำแนกการเกิดได้เป็น 4 รูปแบบ ดังนี้
- ลมสุริยะ
ลมสุริยะ (อังกฤษ: solar wind) เกิดจากการขยายตัวของโคโรนาของดวงอาทิตย์ที่มีพลังงานความร้อนที่สูงขึ้น เมื่อขยายตัวจนอนุภาคหลุดพ้นจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และหนีออกจากดวงอาทิตย์ไปทุกทิศทาง จนครอบคลุมระบบสุริยะ โดยปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นบริเวณขั้วเหนือและขั้วใต้ของดวงอาทิตย์ ที่มี ขนาดใหญ่ ซึ่งโพรงคอโรนาเป็นที่มีลมสุริยะความเร็วสูงและรุนแรงพัดออกมาจากดวงอาทิตย์ในบริเวณนั้น ในขณะที่ลมสุริยะที่เกิดขึ้นบริเวณแนวใกล้ศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์จะมีความเร็วต่ำ ลมสุริยะที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของโคโรนาในแนวศูนย์สูตรดวงอาทิตย์นี้มีความเร็วเริ่มโดยเฉลี่ยประมาณ 450 กิโลเมตรต่อวินาที หลังจากนั้นจะเร่งความเร็วจนถึงราว 800 กิโลเมตรต่อวินาที
- เปลวสุริยะ
เปลวสุริยะ (อังกฤษ: solar flare) เกิดจากการระเบิดอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นที่ชั้นโครโมสเฟียร์ และมักเกิดขึ้นเหนือรอยต่อระหว่างขั้วของสนามแม่เหล็ก เช่นบริเวณกึ่งกลางของจุดดำแบบคู่หรือท่ามกลางกระจุกของจุดดำที่มีสนามแม่เหล็กปั่นป่วนซับซ้อน ซึ่งปล่อยพลังงานในรูปของแสงและคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้าแบบต่างๆ ออกมาอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบกลไกการเกิดเปลวสุริยะอย่างแน่ชัด
- การปลดปล่อยก้อนมวลสารจากโคโรนา
การปลดปล่อยก้อนมวลสารจากโคโรนา (อังกฤษ: Coronal mass ejection, CME) นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเกิดขึ้นอย่างไร แต่พบว่ามันมักเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์อื่นที่เกิดขึ้นระดับโคโรนาชั้นล่าง บ่อยครั้งที่พบว่าเกิดขึ้นร่วมกับเปลวสุริยะและโพรมิเนนซ์ แต่บางครั้งก็อาจเกิดขึ้นโดยไม่มีปรากฏการณ์สองอย่างนี้เลย นอกจากนี้ความถี่ในการเกิดยังแปรผันตามอีกด้วย ในช่วงใกล้เคียงกับช่วงต่ำสุดของดวงอาทิตย์อาจเกิดประมาณสัปดาห์ละครั้ง หากเป็นช่วงใกล้กับจุดสูงสุดของดวงอาทิตย์ ก็อาจเกิดขึ้นบ่อยถึงประมาณสองหรือสามครั้งต่อวัน
- อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์
อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ หรือ พายุสนามแม่เหล็กโลก (อังกฤษ: Geomagnetic storm) อาจเกิดขึ้นได้ 2 แบบ แบบแรกเกิดพร้อมกับเปลวสุริยะ ส่วนอีกแบบหนึ่งเกิดจากการที่ความเร็วสูงพุ่งแหวกไปในกระแสลมสุริยะทำให้เกิดคลื่นกระแทกเข้ากับสนามแม่เหล็กโลก โดยอนุภาคสุริยะพลังงานสูงจะเกิดขึ้นในบริเวณคลื่นกระแทกนี้
การพยากรณ์พายุสุริยะ
การพยากรณ์การเกิดพายุสุริยะสามารถพยากรณ์ได้การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของดวงอาทิตย์ เช่น การเกิดจุดมืดดวงอาทิตย์ ซึ่งการใช้วิธีการพยากรณ์นี้อาจพยากรณ์ได้แต่ลมสุริยะและเปลวสุริยะ ส่วนการพยากรณ์การเกิดนั้น จะพยากรณ์โดยใช้ดาวเทียมที่สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ได้ 1-2 วัน ก่อนเดินทางมายังโลก นอกจากนี้ยังพยาการณ์ลมสุริยะด้วยดาวเทียมได้ครึ่งชั่วชั่วโมง ก่อนเดินทางมายังโลก
ผลกระทบต่อโลก
ผลกระทบของพายุสุริยะที่มีต่อโลก ของสหรัฐอเมริกา ระบุผลกระทบจากพายุสุริยะใว้ใน 3 ลักษณะ ดังนี้
- พายุแม่เหล็กโลก
- พายุรังสีสุริยะ
- การขาดหายของสัญญาณวิทยุ
โดยสามารถแบ่งออกเป็นตารางจำแนกรูปแบบการเกิดพายุสุริยะกับผลกระทบต่อโลกได้ ดังนี้
รูปแบบการเกิดพายุสุริยะ | ผลกระทบต่อโลก | ||
---|---|---|---|
พายุแม่เหล็กโลก | พายุรังสีสุริยะ | การขาดหายของสัญญาณวิทยุ | |
ลมสุริยะ | |||
เปลวสุริยะ | |||
การปลดปล่อยก้อนมวลสารจากโคโรนา | |||
อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ |
โดยรวมเมื่อพายุสุริยะจะปลดปล่อยพลาสมาออกมา และเดินทางมายังโลกเพียงบางส่วน เมื่ออนุภาคเดินทางเข้าสู่ชั้นไอโอโนสเฟียร์ และชั้นบรรยากาศเหนือขั้วโลก มันจะทำปฏิกิริยากับก๊าซที่อยู่ในชั้นบรรยากาศและปล่อยพลังงานออกมาในปริมาณมาก การทำปฏิกิริยาดังกล่าวจะทำให้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้มีโอกาสได้เห็น ออโรรา
นอกจากนี้พลาสมาที่เดินทางมา จะส่งผลกระทบต่อสนามแม่เหล็กของโลก ทำให้ส่งผลต่อโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์ และระบบนำทางของเครื่องบินหรือเรือเดินสมุทร นอกจากนี้ยังทำให้ท่อส่งน้ำมันผุกร่อนได้เร็วกว่าปกติมาก และขณะที่สนามแม่เหล็กโลกถูกแรงของพลาสมาทั้งดึงและดันอยู่ จะทำให้ประจุไฟฟ้าปริมาณมากเกิดขึ้นในอวกาศ อาจทำให้ดาวเทียมเกิดประจุไฟฟ้าบริเวณรอบนอก กระแสฟ้าที่เกิดขึ้นนี้อาจถูกปล่อยเข้าไปภายในดาวเทียมและอาจทำให้เกิดความผิดปกติหรือเสียหายได้ แต่ถ้าพลาสมาเดินทางมายังโลกเป็นปริมาณเยอะ () จะทำให้ส่งผลต่อระบบการส่งกระแสไฟฟ้าบนโลก ดังเช่น เหตุการณ์ไฟดับทางตะวันออกของประเทศแคนาดา ในวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2532
อ้างอิง
- บทความเข้าใจ “พายุสุริยะ” ให้ลึกกว่าข่าวในสื่อ โดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)[]
- เรื่องจริงของพายุสุริยะ (ตอน 2) ในเว็บไซต์สมาคมดาราศาสตร์ไทย
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-18. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
- อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ (Solar energetic particles : SEPs) ในเว็บไซต์ Thaispaceweather.com[]
- เรื่องจริงของพายุสุริยะ (ตอน 4) ในเว็บไซต์สมาคมดาราศาสตร์ไทย
- พายุสุริยะมีผลกระทบต่อโลกอย่างไร? ในเว็บไซต์สมาคมดาราศาสตร์ไทย
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-20. สืบค้นเมื่อ 2013-03-19.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "พายุสุริยะ" 2015-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (ไทย)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phayusuriya xngkvs Solar storm epnpraktkarnhnungthiekidcakkarthiphiwdwngxathityraebidkhunmathieriykwa karraebidlukca sungthaihphungxxkmacanwnmhasal pracuiffathiphungxxkmanicarbkwnrabbkarsuxsar sngphlthaihkarsuxsarothrkhmnakhmepnxmphat echn thaihekhruxngbinimsamarthtidtxkbhxbngkhbkarid othrsphthmuxthuxichnganimid rwmipthungdawethiymesiyhay karthanaykhwamrunaerngkhxngphayusuriya samarththaidodytrwcsxbcudmuddwngxathity enuxngcakcudmudekidcakkhwamaeprprwnkhxngsnamaemehlk emuxmicudmudmakkhunkcasngphlihxnuphakhkraaesiffaephimmakkhunsngphlihekidkhwamrunaerngephimmakkhun source source source source source source widioxaesdngeplwsuriyathimacakphiwdwngxathity enuxngcakpraktkarnphayusuriyasaehtuphapheplwsuriyathay idodydawethiym TRACE khxngnasa saehtukarekidkhxngphayusuriyacaaenkkarekididepn 4 rupaebb dngni lmsuriya lmsuriya xngkvs solar wind ekidcakkarkhyaytwkhxngokhornakhxngdwngxathitythimiphlngngankhwamrxnthisungkhun emuxkhyaytwcnxnuphakhhludphncakaerngdungdudkhxngdwngxathityaelahnixxkcakdwngxathityipthukthisthang cnkhrxbkhlumrabbsuriya odypraktkarnniekidkhunbriewnkhwehnuxaelakhwitkhxngdwngxathity thimi khnadihy sungophrngkhxornaepnthimilmsuriyakhwamerwsungaelarunaerngphdxxkmacakdwngxathityinbriewnnn inkhnathilmsuriyathiekidkhunbriewnaenwiklsunysutrkhxngdwngxathitycamikhwamerwta lmsuriyathiekidkhuncakkarkhyaytwkhxngokhornainaenwsunysutrdwngxathitynimikhwamerwerimodyechliypraman 450 kiolemtrtxwinathi hlngcaknncaerngkhwamerwcnthungraw 800 kiolemtrtxwinathi eplwsuriya eplwsuriya xngkvs solar flare ekidcakkarraebidxyangrunaerngthiekidkhunthichnokhromsefiyr aelamkekidkhunehnuxrxytxrahwangkhwkhxngsnamaemehlk echnbriewnkungklangkhxngcuddaaebbkhuhruxthamklangkracukkhxngcuddathimisnamaemehlkpnpwnsbsxn sungplxyphlngnganinrupkhxngaesngaelakhlunaemehlk iffaaebbtang xxkmaxyangrunaerng aetinpccubnnkdarasastryngimthrabklikkarekideplwsuriyaxyangaenchd karpldplxykxnmwlsarcakokhorna karpldplxykxnmwlsarcakokhorna xngkvs Coronal mass ejection CME nkdarasastryngimthrabaenchdwaekidkhunxyangir aetphbwamnmkekidkhuncakpraktkarnxunthiekidkhunradbokhornachnlang bxykhrngthiphbwaekidkhunrwmkbeplwsuriyaaelaophrmienns aetbangkhrngkxacekidkhunodyimmipraktkarnsxngxyangniely nxkcaknikhwamthiinkarekidyngaeprphntamxikdwy inchwngiklekhiyngkbchwngtasudkhxngdwngxathityxacekidpramanspdahlakhrng hakepnchwngiklkbcudsungsudkhxngdwngxathity kxacekidkhunbxythungpramansxnghruxsamkhrngtxwn xnuphakhphlngngansungcakdwngxathity xnuphakhphlngngansungcakdwngxathity hrux phayusnamaemehlkolk xngkvs Geomagnetic storm xacekidkhunid 2 aebb aebbaerkekidphrxmkbeplwsuriya swnxikaebbhnungekidcakkarthikhwamerwsungphungaehwkipinkraaeslmsuriyathaihekidkhlunkraaethkekhakbsnamaemehlkolk odyxnuphakhsuriyaphlngngansungcaekidkhuninbriewnkhlunkraaethknikarphyakrnphayusuriyakarphyakrnkarekidphayusuriyasamarthphyakrnidkarsngektkarepliynaeplngkhxngdwngxathity echn karekidcudmuddwngxathity sungkarichwithikarphyakrnnixacphyakrnidaetlmsuriyaaelaeplwsuriya swnkarphyakrnkarekidnn caphyakrnodyichdawethiymthisngektkarndwngxathityid 1 2 wn kxnedinthangmayngolk nxkcakniyngphyakarnlmsuriyadwydawethiymidkhrungchwchwomng kxnedinthangmayngolkphlkrathbtxolkphlkrathbkhxngphayusuriyathimitxolk khxngshrthxemrika rabuphlkrathbcakphayusuriyaiwin 3 lksna dngni phayuaemehlkolk phayurngsisuriya karkhadhaykhxngsyyanwithyu odysamarthaebngxxkepntarangcaaenkrupaebbkarekidphayusuriyakbphlkrathbtxolkid dngni rupaebbkarekidphayusuriya phlkrathbtxolkphayuaemehlkolk phayurngsisuriya karkhadhaykhxngsyyanwithyulmsuriyaeplwsuriyakarpldplxykxnmwlsarcakokhornaxnuphakhphlngngansungcakdwngxathity odyrwmemuxphayusuriyacapldplxyphlasmaxxkma aelaedinthangmayngolkephiyngbangswn emuxxnuphakhedinthangekhasuchnixoxonsefiyr aelachnbrryakasehnuxkhwolk mncathaptikiriyakbkasthixyuinchnbrryakasaelaplxyphlngnganxxkmainprimanmak karthaptikiriyadngklawcathaihkhnthixasyxyuinbriewnkhwolkehnuxaelakhwolkitmioxkasidehn xxorra nxkcakniphlasmathiedinthangma casngphlkrathbtxsnamaemehlkkhxngolk thaihsngphltxothrthsn syyanothrsphth aelarabbnathangkhxngekhruxngbinhruxeruxedinsmuthr nxkcakniyngthaihthxsngnamnphukrxniderwkwapktimak aelakhnathisnamaemehlkolkthukaerngkhxngphlasmathngdungaeladnxyu cathaihpracuiffaprimanmakekidkhuninxwkas xacthaihdawethiymekidpracuiffabriewnrxbnxk kraaesfathiekidkhunnixacthukplxyekhaipphayindawethiymaelaxacthaihekidkhwamphidpktihruxesiyhayid aetthaphlasmaedinthangmayngolkepnprimaneyxa cathaihsngphltxrabbkarsngkraaesiffabnolk dngechn ehtukarnifdbthangtawnxxkkhxngpraethsaekhnada inwnthi 14 minakhm ph s 2532xangxingbthkhwamekhaic phayusuriya ihlukkwakhawinsux ody dr bycha thnbuysmbti sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati swthch lingkesiy eruxngcringkhxngphayusuriya txn 2 inewbistsmakhmdarasastrithy khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 10 18 subkhnemux 2013 03 20 xnuphakhphlngngansungcakdwngxathity Solar energetic particles SEPs inewbist Thaispaceweather com lingkesiy eruxngcringkhxngphayusuriya txn 4 inewbistsmakhmdarasastrithy phayusuriyamiphlkrathbtxolkxyangir inewbistsmakhmdarasastrithy khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 11 20 subkhnemux 2013 03 19 aehlngkhxmulxun phayusuriya 2015 03 23 thi ewyaebkaemchchin caksthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn ithy