พัลซาร์ (อังกฤษ: Pulsar; มาจากการรวมกันของ 2 คำ คือ pulsating และ star) คือดาวนิวตรอนที่หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วสูงมาก และแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเป็นจังหวะ คาบการหมุนที่สังเกตได้อยู่ระหว่าง 1.4 มิลลิวินาที ถึง 8.5 วินาที เราสามารถสังเกตเห็นการแผ่รังสีได้จากลำรังสีที่ชี้มาทางโลกเท่านั้น ลักษณะปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า ปรากฏการณ์ประภาคาร (lighthouse effect) และการที่สังเกตเห็นรังสีเป็นช่วงๆ (pulse) นี้เองเป็นที่มาของชื่อพัลซาร์ พัลซาร์บางแห่งมีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบๆ เช่น ดาว เวอร์เนอร์ เบ็คเกอร์ แห่งสถาบันมักซ์ พลังค์เพื่อการศึกษาฟิสิกส์นอกโลก (Max Planck Institute for Extraterrestrial Physics) ได้กล่าวเอาไว้ในปี 2549 ว่า "ทฤษฎีว่าด้วยเหตุที่พัลซาร์แผ่รังสีออกมายังคงเป็นสิ่งลึกลับ แม้จะมีการเฝ้าศึกษามาเป็นเวลากว่า 40 ปีแล้ว"
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Young, M.D.; Manchester, R.N.; Johnston, S. "A Radio Pulsar with an 8.5-Second Period that Challenges Emission Models." Nature, Volume 400, 26 August 1999 (pages 848-849).
- Press Release: Old Pulsars Still Have New Tricks to Teach Us. European Space Agency, 26 July 2006.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาพเคลื่อนไหวของพัลซาร์ 2008-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Einstein.com, 17 มกราคม 2551.
- "การค้นพบพัลซาร์." BBC, 23 ธันวาคม 2545.
- "A Pulsar Discovery: First Optical Pulsar 2007-10-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." Moments of Discovery, American Institute of Physics, 2007 (มีเสียงประกอบพร้อมคำแนะนำ).
- "ค้นพบดาวพัลซาร์ชนิดใหม่ 2008-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน". Cosmos Online.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phlsar xngkvs Pulsar macakkarrwmknkhxng 2 kha khux pulsating aela star khuxdawniwtrxnthihmunrxbtwexngdwykhwamerwsungmak aelaaephrngsikhlunaemehlkiffaxxkmaepncnghwa khabkarhmunthisngektidxyurahwang 1 4 milliwinathi thung 8 5 winathi erasamarthsngektehnkaraephrngsiidcaklarngsithichimathangolkethann lksnapraktkarnechnnieriykwa praktkarnpraphakhar lighthouse effect aelakarthisngektehnrngsiepnchwng pulse niexngepnthimakhxngchuxphlsar phlsarbangaehngmidawekhraahokhcrxyurxb echn daw PSR B1257 12 ewxrenxr ebkhekxr aehngsthabnmks phlngkhephuxkarsuksafisiksnxkolk Max Planck Institute for Extraterrestrial Physics idklawexaiwinpi 2549 wa thvsdiwadwyehtuthiphlsaraephrngsixxkmayngkhngepnsingluklb aemcamikarefasuksamaepnewlakwa 40 piaelw aephnphaphkhxngphlsar thrngklmtrngklanghmaythungdawniwtrxn esnokhngrxb khuxesnsnamaemehlk swnrupkrwythiphungxxkmakhuxlakaraephrngsiduephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phlsar dawniwtrxn Magnetar dawekhraahphlsar hlumdaxangxingYoung M D Manchester R N Johnston S A Radio Pulsar with an 8 5 Second Period that Challenges Emission Models Nature Volume 400 26 August 1999 pages 848 849 Press Release Old Pulsars Still Have New Tricks to Teach Us European Space Agency 26 July 2006 aehlngkhxmulxunphaphekhluxnihwkhxngphlsar 2008 02 27 thi ewyaebkaemchchin Einstein com 17 mkrakhm 2551 karkhnphbphlsar BBC 23 thnwakhm 2545 A Pulsar Discovery First Optical Pulsar 2007 10 03 thi ewyaebkaemchchin Moments of Discovery American Institute of Physics 2007 miesiyngprakxbphrxmkhaaenana khnphbdawphlsarchnidihm 2008 10 21 thi ewyaebkaemchchin Cosmos Online bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk