ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
พระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (อังกฤษ: Mingyinyo, พม่า: မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ)
พระเจ้าเมงจีโย | |
---|---|
พระเจ้าตองอู | |
พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าเมงจีโยในตองอู | |
พระมหากษัตริย์พม่า | |
ครองราชย์ | 16 ตุลาคม พ.ศ. 2053 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2073 |
ราชาภิเษก | 11 เมษายน พ.ศ. 2054 |
ก่อนหน้า | ตั้งราชวงศ์ใหม่ |
รัชกาลถัดไป | ตะเบ็งชะเวตี้ |
อุปราชเมืองตองอู | |
ระหว่าง | เมษายน พ.ศ. 2028 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2053 |
ก่อนหน้า | มิน สินธู |
ถัดไป | เมงเยสีหตู |
ประสูติ | กรกฎาคม พ.ศ. 2002 อังวะ |
สวรรคต | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2073 (ชันษา 71) ตองอู |
ชายา | Soe Min Hteik-Tin Thiri Maha Sanda Dewi พระนางรัตนาเทวี Maha Dewi พระนางราชเทวี |
พระราชบุตร | ตะเบ็งชะเวตี้ อตุลสิริ |
ราชวงศ์ | ราชวงศ์ตองอู |
พระราชบิดา | |
พระราชมารดา | |
ศาสนา | พุทธเถรวาท |
พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านรปติแห่งแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน
ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2074 พระนามของพระองค์อาจแปลได้ว่า "พระองค์ดำ" (มิน = กษัตริย์, จี = ยิ่งใหญ่, โหญ่ = ดำ)
อ้างอิง
- Hmannan Vol. 2 2003: 182
- ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์. บุเรงนอง (กะยอดินนรธา) กษัตริย์พม่าในโลกทัศน์ไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550. 214 หน้า. ISBN
- "กำเนิดอยุธยาและวาระสุดท้ายสุริโยทัย โดย วีระ ธีรภัทร และ ดร.สุเนตร ชุตินธานนท์". ตรินิตี้เรดิโอ F.M. 97.00 Mhz. สืบค้นเมื่อ 22 June 2014.
บรรณานุกรม
- Royal Historical Commission of Burma (1832). Hmannan Yazawin (in Burmese). 1–3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.
ก่อนหน้า | พระเจ้าเมงจีโย | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
สิ้นสุดราชวงศ์พุกาม | พระมหากษัตริย์พม่า (อาณาจักรพม่ายุคที่ 2) (พ.ศ. 2053 - พ.ศ. 2073) | พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud phraecaemngcioy saeniyngphmaxxkwa minciohy xngkvs Mingyinyo phma မင က ည hrux phraecasirichysura tamphngsawdarithy hruxinnwniyayphuchnasibthiseriyk emngkayinoy epnpthmkstriykhxngrachwngstxngxu rachwngsaelaxanackrthi 2 khxngprawtisastrphma phraecaemngcioyedimepnnaythharthimikhwamsamarthinkarrb idthakarrwbrwmchawphmathixyuknxyangkracdkracayhlngkarlmslaykhxngxanackrphukamphayhlngkarocmtikhxngmxngokl odyidrbkhwamchwyehluxcakkhunnangsakhyhlaykhn echn emngeysihtu bangkhnthuksmmtiepntwlakhrinnwniyayphusibthis echn mhaethrwdkuosdx phraecaemngcioyphraecatxngxuphrabrmrachanusawriyphraecaemngcioyintxngxuphramhakstriyphmakhrxngrachy16 tulakhm ph s 2053 24 phvscikayn ph s 2073rachaphiesk11 emsayn ph s 2054kxnhnatngrachwngsihmrchkalthdiptaebngchaewtixuprachemuxngtxngxurahwangemsayn ph s 2028 16 tulakhm ph s 2053kxnhnamin sinthuthdipemngeysihtuprasutikrkdakhm ph s 2002 xngwaswrrkht24 phvscikayn ph s 2073 chnsa 71 txngxuchayaSoe Min Hteik Tin Thiri Maha Sanda Dewi phranangrtnaethwi Maha Dewi phranangrachethwiphrarachbutrtaebngchaewti xtulsirirachwngsrachwngstxngxuphrarachbidaphrarachmardasasnaphuththethrwath phraecaemngcioyidsthapnaemuxngtxngxu sungepnemuxnginkhunekhaepnprakarthidikhunepnsunyklangxanacihm txmamikaraephkhyayxanacekhayudemuxngaeprodysamarthrbchnaphraecanrptiaehngaepridsaerc txmakhidcaekhayudemuxnghngsawdithimiphraecaskarawutphiepnkstriy aetimsaercenuxngcakphraecaemngcioyswrrkhtesiykxn inmharachwngsphngsawdarphma rabuwa phraxngkhidphbkbphramehsiemuxesdcthxdphraentrkarsrangekhuxn sungtxmamiphraoxrsephiyngphraxngkhediyw thiidkhrxngrachytxma khux phraecataebngchaewti phraecaemngcioy sinphrachnminpi ph s 2074 phranamkhxngphraxngkhxacaeplidwa phraxngkhda min kstriy ci yingihy ohy da xangxingHmannan Vol 2 2003 182 dr suentr chutinthrannth buerngnxng kayxdinnrtha kstriyphmainolkthsnithy krungethph sankphimphmtichn 2550 214 hna ISBN 974 323 512 4 kaenidxyuthyaaelawarasudthaysurioythy ody wira thirphthr aela dr suentr chutinthannth trinitierdiox F M 97 00 Mhz subkhnemux 22 June 2014 brrnanukrmRoyal Historical Commission of Burma 1832 Hmannan Yazawin in Burmese 1 3 2003 ed Yangon Ministry of Information Myanmar kxnhna phraecaemngcioy thdipsinsudrachwngsphukam phramhakstriyphma xanackrphmayukhthi 2 ph s 2053 ph s 2073 phraecataebngchaewti