พระเจ้าอลองสิธู (อังกฤษ: Alaungsithu, พม่า: အလောင်းစည်သူ) กษัตริย์ในราชวงศ์พุกาม ที่ครองราชย์อย่างยาวนานถึงกว่า 54 ปี (พ.ศ. 1656 - พ.ศ. 1710) ยุคสมัยของพระองค์ อาณาจักรพุกามเจริญถึงขั้นขีดสุดในทุกด้าน
พระเจ้าอลองสิธู အလောင်းစည်သူ สิธูที่ 1 แห่งพุกาม | |||||
---|---|---|---|---|---|
ภาพพระองค์ในรูปของนะ | |||||
กษัตริย์แห่งพม่า | |||||
ครองราชย์ | ค.ศ. 1112/13 – 1167 | ||||
ก่อนหน้า | พระเจ้าจานซิต้า | ||||
ต่อไป | พระเจ้านะระตู | ||||
มุขยมนตรี | Aleimma | ||||
ประสูติ | 17 มกราคม ค.ศ. 1090 วันพฤหัสบดี,ขึ้น 15 ค่ำ เดือนTabodwe 451 ME พุกาม | ||||
สวรรคต | ค.ศ. 1167 (77 พรรษา) 529 ME พุกาม | ||||
ชายา | | ||||
พระราชบุตร | พระเจ้ามินชินสอ พระเจ้านะระตู Htauk Hlayga Taung Phya Shwe Kyu Chit Oo Kyaungdaw | ||||
| |||||
ราชวงศ์ | พุกาม | ||||
พระราชบิดา | |||||
พระราชมารดา | |||||
ศาสนา | พุทธเถรวาท |
พระเจ้าอลองสิธู เป็นพระโอรสของพระเจ้าซอลู พระโอรสของพระเจ้าอโนรธามังช่อกับพระธิดาของพระเจ้าจานสิตา ครองราชย์หลังการสวรรคตของพระเจ้าจานสิตา พระนามภาษาสันสกฤตเมื่อทรงครองราชย์นั้น พบในจารึกที่วัดชเวกูยี ออกพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตย์บวรธรรมราชา แต่พระนามที่เป็นที่รู้จักกัน คือ "สิธู" (Sithu) ซึ่งแปลว่า "วีรบุรุษผู้ชนะ" หรือ อลองสิธู (Alaungsithu) เนื่องจากทรงประกาศพระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ด้วยเช่นเดียวกับพระเจ้าจานสิตา พระอัยกาของพระองค์ (อลอง แปลว่าพระโพธิสัตว์) ในยุคสมัยนี้ศิลปะแบบมอญที่เคยรุ่งเรืองในสมัยแรก ๆ ของอาณาจักร ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นแบบของพุกามมากขึ้นจนถือได้ว่าเป็นจุดรุ่งเรืองสูงสุดของศิลปะพม่าแท้ รัชสมัยของพระองค์ เป็นรัชสมัยที่ทรงสร้างความรุ่งเรืองทางศิลปะ วรรณกรรม สถาปัตยกรรม และ การเมืองการปกครอง อย่างแท้จริง
พระเจ้าอลองสิธู ทรงเป็นกษัตริย์นักเดินทางไม่แพ้พระอัยกาของพระองค์ เพราะทรงเดินทางไปเยือนดินแดนต่าง ๆ ในเขตลุ่มน้ำอิระวดี และดินแดนโพ้นทะเล เช่น ชวา สุมาตรา และศรีลังกา ในทางการเมืองการปกครอง พระองค์สามารถยึดเมืองท่าตะนาวศรีได้ จึงสามารถควบคุมการติดต่อทางทะเลที่บริเวณคอคอดกระได้ เช่น การควบคุมการค้าช้างระหว่างขอม และลังกา ทำให้อาณาจักรพุกามรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง
ปลายรัชสมัยจัดเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของความเสื่อมของอาณาจักรเมื่อพระองค์ถูกปลงพระชนม์โดยเจ้าชายซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง ตามตำนานเล่าว่าพระเจ้าอลองสิธูประชวรพระวาโยสิ้นพระสติ (เป็นลมจนหมดสติ) เจ้าชายนราธู พระราชโอรสจึงอัญเชิญพระองค์ไปประทับรักษาพระวรกายที่วัดแห่งหนึ่ง เมื่อฟื้นคืนพระสติเจ้าชายนราธูใช้ผ้าปูพระแท่น (ผ้าปูเตียง) อุดพระนาสิกและพระโอษฐ์จนพระเจ้าอลองสิธูสวรรคตเมื่อพระชนมายุได้ 87 พรรษา โดยที่พระองค์มิได้แต่งตั้งผู้ใดให้เป็นรัชทายาท
เมื่อข่าวทราบถึงเจ้าชายมินชินสอมกุฏราชกุมารยกทัพกลับเข้าพุกามเพื่อเข้ามาจัดงานพระศพพระราชบิดา เจ้าชายนราธูถวายราชสมบัติคืนแก่พระเชษฐาโดยได้ขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้ามินชินสอ ในปี พ.ศ. 1706 แต่ก็ครองราชย์ได้เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ก็ถูกลอบปลงพระชนม์ด้วยยาพิษระหว่างงานฉลองในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกโดยเจ้าชายนราธูอีก
ปัจจุบัน พระเจ้าอลองสิธูได้รับการบูชาให้เป็นนะหลวงลำดับที่ 31 โดยเรียกว่า มินสิธู (Min Sithu)
อ้างอิง
- Zata 1960: 40
ก่อนหน้า | พระเจ้าอลองสิธู | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระเจ้าจานสิตา | พระมหากษัตริย์พม่า (อาณาจักรพม่ายุคที่ 1) (พ.ศ. 1656 - พ.ศ. 1710) | พระเจ้านราธู |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraecaxlxngsithu xngkvs Alaungsithu phma အလ င စည သ kstriyinrachwngsphukam thikhrxngrachyxyangyawnanthungkwa 54 pi ph s 1656 ph s 1710 yukhsmykhxngphraxngkh xanackrphukamecriythungkhnkhidsudinthukdanphraecaxlxngsithu အလ င စည သ sithuthi 1 aehngphukamphaphphraxngkhinrupkhxngnakstriyaehngphmakhrxngrachykh s 1112 13 1167kxnhnaphraecacansitatxipphraecanaratumukhymntriAleimmaprasuti17 mkrakhm kh s 1090 wnphvhsbdi khun 15 kha eduxnTabodwe 451 ME phukamswrrkhtkh s 1167 77 phrrsa 529 ME phukamchayaphrarachbutrphraecaminchinsx phraecanaratu Htauk Hlayga Taung Phya Shwe Kyu Chit Oo KyaungdawphranametmJayyasura Cansu Irachwngsphukamphrarachbidaphrarachmardasasnaphuththethrwath phraecaxlxngsithu epnphraoxrskhxngphraecasxlu phraoxrskhxngphraecaxonrthamngchxkbphrathidakhxngphraecacansita khrxngrachyhlngkarswrrkhtkhxngphraecacansita phranamphasasnskvtemuxthrngkhrxngrachynn phbincarukthiwdchewkuyi xxkphranamwa sritriphuwnathitybwrthrrmracha aetphranamthiepnthiruckkn khux sithu Sithu sungaeplwa wirburusphuchna hrux xlxngsithu Alaungsithu enuxngcakthrngprakasphraxngkhepnphraophthistwdwyechnediywkbphraecacansita phraxykakhxngphraxngkh xlxng aeplwaphraophthistw inyukhsmynisilpaaebbmxythiekhyrungeruxnginsmyaerk khxngxanackr thukprbepliynihepnaebbkhxngphukammakkhuncnthuxidwaepncudrungeruxngsungsudkhxngsilpaphmaaeth rchsmykhxngphraxngkh epnrchsmythithrngsrangkhwamrungeruxngthangsilpa wrrnkrrm sthaptykrrm aela karemuxngkarpkkhrxng xyangaethcring phraecaxlxngsithu thrngepnkstriynkedinthangimaephphraxykakhxngphraxngkh ephraathrngedinthangipeyuxndinaedntang inekhtlumnaxirawdi aeladinaednophnthael echn chwa sumatra aelasrilngka inthangkaremuxngkarpkkhrxng phraxngkhsamarthyudemuxngthatanawsriid cungsamarthkhwbkhumkartidtxthangthaelthibriewnkhxkhxdkraid echn karkhwbkhumkarkhachangrahwangkhxm aelalngka thaihxanackrphukamrungeruxngepnxyangying playrchsmycdepncuderimtnsakhykhxngkhwamesuxmkhxngxanackremuxphraxngkhthukplngphrachnmodyecachaysungepnphrarachoxrskhxngphraxngkhexng tamtananelawaphraecaxlxngsithuprachwrphrawaoysinphrasti epnlmcnhmdsti ecachaynrathu phrarachoxrscungxyechiyphraxngkhipprathbrksaphrawrkaythiwdaehnghnung emuxfunkhunphrastiecachaynrathuichphapuphraaethn phapuetiyng xudphranasikaelaphraoxsthcnphraecaxlxngsithuswrrkhtemuxphrachnmayuid 87 phrrsa odythiphraxngkhmiidaetngtngphuidihepnrchthayath emuxkhawthrabthungecachayminchinsxmkutrachkumarykthphklbekhaphukamephuxekhamacdnganphrasphphrarachbida ecachaynrathuthwayrachsmbtikhunaekphraechsthaodyidkhunkhrxngrachyepn phraecaminchinsx inpi ph s 1706 aetkkhrxngrachyidephiyngchwngewlasn kthuklxbplngphrachnmdwyyaphisrahwangnganchlxnginphrarachphithibrmrachaphieskodyecachaynrathuxik pccubn phraecaxlxngsithuidrbkarbuchaihepnnahlwngladbthi 31 odyeriykwa minsithu Min Sithu xangxingZata 1960 40 kxnhna phraecaxlxngsithu thdipphraecacansita phramhakstriyphma xanackrphmayukhthi 1 ph s 1656 ph s 1710 phraecanrathu