พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช มีพระนามเดิมว่าเจ้าวรวงศา หรือ เจ้าวรวังโส เป็นปฐมกษัตริย์แห่งล้านช้าง พระบิดาเป็นสามัญชนซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในชื่อพระวรปิตา พระมารดามีนามว่านางคำไบหรือเป็นพระขนิษฐาร่วมมารดาของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระองค์นับเป็นกษัตริย์ยอดนักรบองค์หนึ่งของลาว แต่มักไม่ค่อยถูกกล่าวถึงเท่าไหร่ ทรงผ่านสงครามกลางเมืองหลายครั้ง รวมถึงการที่ทรงกรีฑาทัพเข้าทำสงครามกับนรธาเมงสอ พระเจ้าเชียงใหม่ เเละท่านยังสามารถยึดหัวเมืองล้านนาได้เกือบหมด และขับไล่ข้าหลวงสยามชาวยวนที่ปกครองเชียงแสน ซึ่งขึ้นมาปกครองล้านนาตอนเหนือตั้งแต่รัชกาลพระนเรศวร เป็นผลสำเร็จ เเละเป็นเหตุบีบให้เมืองเชียงใหม่ไปขอขึ้นตรงกับอยุธยาเพื่อขอกำลังพลของอยุธยาไปช่วยเกลี้ยกล่อมล้านช้างไม่ให้บุกตีเมืองเชียงใหม่ นับเป็นยุครุ่งเรืองยุคหนึ่งของล้านช้าง พระองค์ได้ครองราชย์หลังจากพระหน่อแก้วกุมารสวรรคตในพ.ศ. 2139 สิ้นราชวงศ์ที่สืบมาตั้งแต่ขุนลอ ล้านช้างปกครองโดยมีพระวรปิตาเป็นผู้สำเร็จราชการ ต่อมาทรงมีปัญหาขัดแย้งกับพระวรปิตา เนื่องจากพระวรปิตาต้องการกำจัดพระองค์เพื่อขึ้นเป็นกษัตริย์เสียเอง แต่พระองค์มีพระยาแสนหลวงที่เป็นพระญาติฝ่ายมารดาช่วยคุ้มครอง พระองค์จึงได้ขึ้นครองราชย์ในที่สุด ต่อมา เมื่อพระองค์และพระยาแสนหลวงไปกวาดต้อนครัวลาวที่เชียงใหม่ พระวรปิตาก็ก่อกบฏปิดเมืองไม่ให้พระองค์เสด็จเข้า จนเกิดรบพุ่งกันใน พ.ศ. 2142 แต่คณะสงฆ์เข้าไกลเกลี่ยให้คืนดีกัน พระวรปิตาไปครองเมืองมรุกขนคร ส่วนพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราชขึ้นครองราชย์ดังเดิม เริ่ม
ต่อมา ใน พ.ศ. 2145 กษัตริย์อังวะได้ยกทัพมารบกับไทใหญ่ พระเจ้าวรวงศายกทัพขึ้นไประวังเหตุที่หลวงพระบาง พระวรปิตาก่อกบฏยกทัพมายึดเวียงจันทน์ไว้ได้ พระยาแสนหลวงได้ยกทัพลงมาปราบปรามได้ พระวรปิตายอมออกบวชตลอดชีวิต พระยาแสนหลวงได้เป็นพระยานครหลวงพิชิตไปครองเมืองมรุกขนครแทน ต่อมา ใน พ.ศ. 2147 เกิดเหตุวุ่นวายในเชียงขวางเนื่องจากเจ้าคำลุน เจ้าเมืองสิ้นชีวิต ลูกหลานแย่งราชสมบัติกัน พระเจ้าวรวงศายกทัพไปไกล่เกลี่ยให้เจ้าสองแคว โอรสเจ้าคำลุนขึ้นเป็นกษัตริย์ ต่อมา ชาวเชียงขวางร้องเรียนว่าเจ้าสองแควปกครองไม่อยู่ในสัตย์ธรรม พระองค์สืบทราบว่าจริงจึงปลดเจ้าสองแควออก ตั้งเจ้าธานีเป็นเจ้าเมืองเชียงขวางแทนใน พ.ศ. 2149
ใน พ.ศ. 2155 มีเชื้อพระวงศ์จากกรุงศรีอยุธยาขึ้นมากราบทูลว่ากรุงศรีอยุธยาถูกต่างชาติยึดครอง พระองค์จึงยกทัพลงไปถึงเมืองลพบุรี พบว่าไม่เป็นความจริง เพียงแต่เกิดเหตุวุ่นวายในกรงศรีอยุธยา เจ้าฟ้าสุทัศน์ถูกจับในข้อหากบฏและปลงพระชนม์แล้ว พระองค์จึงยกทัพกลับไป
ใน พ.ศ. 2165 พระเจ้าวรวงศาเสด็จไปหลวงพระบางมอบหมายให้พระอุปยุวราชรักษาเมือง พระยาเมืองจัน นามเดิมว่าเวียง ได้ถือโอกาสนี้ก่อกบฏ ยึดเมืองเวียงจันทน์และยกพระอุปยุวราชขึ้นเป็นกษัตริย์ พระเจ้าวรวงศาได้ให้เจ้าหม่อมไชยและพระยาอนุชิตยกทัพลงมายึดเมืองเวียงจันทน์คืนได้ พระยาเมืองจัน (เวียง) ไปตั้งมั่นที่ ฝั่งเดียวกับหนองคาย เมื่อพระเจ้าวรวงศาเสด็จกลับมาแล้ว บ้านเมืองยังคงวุ่นวายอยู่ พระยาเมืองจัน (เวียง) ได้ยกทัพเข้ามาตีเวียงจันทน์แตก พระเจ้าวรวงศาแตกพ่ายหนีไปทางเมืองเชียงแดง พระยาเมืองจันยกทัพตามไปทัน สังหารพระเจ้าวรวงศาและครอบครัวที่ตามไปด้วยจนหมดสิ้นแล้วยกพระอุปยุวราชขึ้นครองราชย์ต่อไป
อ้างอิง
- มหาบุนมี เทบสีเมือง. ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 2 อาณาจักรลาวล้านช้างตอนต้น. แปลโดย ไผท ภูธา. กทม. สุขภาพใจ. 2554. หน้า 317 – 330
- ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕, (๒๔๖๐). "พงศาวดารเมืองหลวงพระบาง ตามฉบับที่มีอยู่ในศาลาลูกขุน", วิกิซอร์ซ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.m.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87_%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99 [๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓].
- สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. ลำดับกษัตริย์ลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2545, หน้า 79
- https://www.facebook.com/100654875312609/posts/120231960021567/
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraecawrwngsathrrmikrach miphranamedimwaecawrwngsa hrux ecawrwngos epnpthmkstriyaehnglanchang phrabidaepnsamychnsungtxmaepnthiruckinchuxphrawrpita phramardaminamwanangkhaibhruxepnphrakhnistharwmmardakhxngphraecaichyechsthathirach phraxngkhnbepnkstriyyxdnkrbxngkhhnungkhxnglaw aetmkimkhxythukklawthungethaihr thrngphansngkhramklangemuxnghlaykhrng rwmthungkarthithrngkrithathphekhathasngkhramkbnrthaemngsx phraecaechiyngihm eelathanyngsamarthyudhwemuxnglannaidekuxbhmd aelakhbilkhahlwngsyamchawywnthipkkhrxngechiyngaesn sungkhunmapkkhrxnglannatxnehnuxtngaetrchkalphranerswr epnphlsaerc eelaepnehtubibihemuxngechiyngihmipkhxkhuntrngkbxyuthyaephuxkhxkalngphlkhxngxyuthyaipchwyekliyklxmlanchangimihbuktiemuxngechiyngihm nbepnyukhrungeruxngyukhhnungkhxnglanchang phraxngkhidkhrxngrachyhlngcakphrahnxaekwkumarswrrkhtinph s 2139 sinrachwngsthisubmatngaetkhunlx lanchangpkkhrxngodymiphrawrpitaepnphusaercrachkar txmathrngmipyhakhdaeyngkbphrawrpita enuxngcakphrawrpitatxngkarkacdphraxngkhephuxkhunepnkstriyesiyexng aetphraxngkhmiphrayaaesnhlwngthiepnphrayatifaymardachwykhumkhrxng phraxngkhcungidkhunkhrxngrachyinthisud txma emuxphraxngkhaelaphrayaaesnhlwngipkwadtxnkhrwlawthiechiyngihm phrawrpitakkxkbtpidemuxngimihphraxngkhesdcekha cnekidrbphungknin ph s 2142 aetkhnasngkhekhaiklekliyihkhundikn phrawrpitaipkhrxngemuxngmrukkhnkhr swnphraecawrwngsathrrmikrachkhunkhrxngrachydngedim erim txma in ph s 2145 kstriyxngwaidykthphmarbkbithihy phraecawrwngsaykthphkhuniprawngehtuthihlwngphrabang phrawrpitakxkbtykthphmayudewiyngcnthniwid phrayaaesnhlwngidykthphlngmaprabpramid phrawrpitayxmxxkbwchtlxdchiwit phrayaaesnhlwngidepnphrayankhrhlwngphichitipkhrxngemuxngmrukkhnkhraethn txma in ph s 2147 ekidehtuwunwayinechiyngkhwangenuxngcakecakhalun ecaemuxngsinchiwit lukhlanaeyngrachsmbtikn phraecawrwngsaykthphipiklekliyihecasxngaekhw oxrsecakhalunkhunepnkstriy txma chawechiyngkhwangrxngeriynwaecasxngaekhwpkkhrxngimxyuinstythrrm phraxngkhsubthrabwacringcungpldecasxngaekhwxxk tngecathaniepnecaemuxngechiyngkhwangaethnin ph s 2149 in ph s 2155 miechuxphrawngscakkrungsrixyuthyakhunmakrabthulwakrungsrixyuthyathuktangchatiyudkhrxng phraxngkhcungykthphlngipthungemuxnglphburi phbwaimepnkhwamcring ephiyngaetekidehtuwunwayinkrngsrixyuthya ecafasuthsnthukcbinkhxhakbtaelaplngphrachnmaelw phraxngkhcungykthphklbip in ph s 2165 phraecawrwngsaesdciphlwngphrabangmxbhmayihphraxupyuwrachrksaemuxng phrayaemuxngcn namedimwaewiyng idthuxoxkasnikxkbt yudemuxngewiyngcnthnaelaykphraxupyuwrachkhunepnkstriy phraecawrwngsaidihecahmxmichyaelaphrayaxnuchitykthphlngmayudemuxngewiyngcnthnkhunid phrayaemuxngcn ewiyng iptngmnthi fngediywkbhnxngkhay emuxphraecawrwngsaesdcklbmaaelw banemuxngyngkhngwunwayxyu phrayaemuxngcn ewiyng idykthphekhamatiewiyngcnthnaetk phraecawrwngsaaetkphayhniipthangemuxngechiyngaedng phrayaemuxngcnykthphtamipthn sngharphraecawrwngsaaelakhrxbkhrwthitamipdwycnhmdsinaelwykphraxupyuwrachkhunkhrxngrachytxipxangxingmhabunmi ethbsiemuxng khwamepnmakhxngchnchatilaw elm 2 xanackrlawlanchangtxntn aeplody iphth phutha kthm sukhphaphic 2554 hna 317 330 prachumphngsawdar phakhthi 5 2460 phngsawdaremuxnghlwngphrabang tamchbbthimixyuinsalalukkhun wikisxrs xxniln aehlngthima https th m wikisource org wiki E0 B8 9E E0 B8 87 E0 B8 A8 E0 B8 B2 E0 B8 A7 E0 B8 94 E0 B8 B2 E0 B8 A3 E0 B9 80 E0 B8 A1 E0 B8 B7 E0 B8 AD E0 B8 87 E0 B8 AB E0 B8 A5 E0 B8 A7 E0 B8 87 E0 B8 9E E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 9A E0 B8 B2 E0 B8 87 E0 B8 95 E0 B8 B2 E0 B8 A1 E0 B8 89 E0 B8 9A E0 B8 B1 E0 B8 9A E0 B8 97 E0 B8 B5 E0 B9 88 E0 B8 A1 E0 B8 B5 E0 B8 AD E0 B8 A2 E0 B8 B9 E0 B9 88 E0 B9 83 E0 B8 99 E0 B8 A8 E0 B8 B2 E0 B8 A5 E0 B8 B2 E0 B8 A5 E0 B8 B9 E0 B8 81 E0 B8 82 E0 B8 B8 E0 B8 99 31 phvsphakhm 2563 surskdi srisaxang ladbkstriylaw phimphkhrngthi 2 krungethph sankobrankhdiaelaphiphithphnthsthanaehngchati krmsilpakr 2545 hna 79 https www facebook com 100654875312609 posts 120231960021567