พระลกุณฏกภัททิยะ เป็นอสีติมหาสาวก ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีเอตทัคคะในทางพูดเสียงไพเราะ เป็นพระที่เป็น "อาทิกัมมิกะ" ในเรื่องการไม่อนุญาตให้บวช ด้วยเหตุผลว่าเรื่องกายแคระ หรือเตี้ย
พระลกุณฑกภัททิยเถระ | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ชื่อเดิม | ภัททิยะ |
ชื่ออื่น | พระลกุณฑก,พระภัททิยะ |
สถานที่เกิด | เมืองสาวัตถี |
วิธีบวช | เอหิภิกขุอุปสัมปทา |
ฐานะเดิม | |
ชาวเมือง | สาวัตถี |
บิดา | บุตรเศรษฐีในเมืองสาวัตถี |
วรรณะเดิม | |
ส่วนหนึ่งของ |
ประวัติ
ภัททิยะ เป็นเชื่อเดิมของ "พระลกุณฎกภัททิยะ" เกิดในตระกูลมหาเศรษฐี ในกรุงสาวัตถี เมื่อเจริญวัยอายุมากขึ้นแต่ร่างกายของท่านไม่เจริญเติบโตตามอายุยังคงมีร่างกายเล็กต่ำเตี้ย เหมือนเด็กวัย 10 ขวบ ชนทั่วไปเมื่อจะจึงเรียกชื่อท่านก็จะเพิ่มคำว่า “ลกุณฏกะ” ซึ่งหมายถึง ต่ำเตี้ย ไว้ข้างหน้า ชื่อด้วย จึงเป็นที่รู้กันโดยทั่วไปว่า ท่านภัททิยะเตี้ย หรือ ท่านภัททิยะ แคระ
บวชในพระพุทธศาสนา
คราวหนึ่ง "ลกุณฎกภัททิยะ" ได้ไปฟังธรรมกับพระพทธเจ้าที่พระมหาวิหารเชตวัน เมื่อพระพุทธเจ้าแสดงธรรมจบ เกิดศรัทธาและขอบวชในพระพุทธศาสนา ซึ่งพระพุทธเจ้าก็อนุญาตให้บวช จึงได้ชื่อว่า "พระลกุณฎกภัททิยะ" เมื่อบวชแล้วได้ศึกษาธรรม กรรมฐานในสำนักของพระพุทธเจ้า และไม่นานก็บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบันอุปสมบทแล้ว ด้วยความที่มีศรัทธามุ่งมั่นจึงทำให้ท่านได้บรรลุธรรมที่สูงขึ้นไปอีก ในคราวหนึ่งด้วยความที่ท่านมีรูปร่างเตี้ย จึงเป็นที่ขบขันของผู้พบเห็น ได้มีหญิงคนหนึ่งเมื่อเห็นท่านก็อดที่จะขำไม่ได้ และนางก็ขำหัวเราะจนมองเห็นฟัน จนตัวโยน พระเถระเห็นอาการดังนั้น ได้ถือเอาเป็นนิมิตพิจารณาธรรม มองเห็นช่องปากเป็นสิ่งปฏิกูล สกปรก น่าเกลียด จนได้สำเร็จเป็นพระอนาคามี และต่อมาท่านได้ฟังธรรมกถา อันเป็น โอวาทจากพระสารีบุตรเถระ จิตก็หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ สำเร็จเป็นพระอรหันต์
ถูกล้อเลียนว่าเป็นสามเณร
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phralkuntkphththiya epnxsitimhasawk thiidrbkarykyxngwaepnphumiextthkhkhainthangphudesiyngipheraa epnphrathiepn xathikmmika ineruxngkarimxnuyatihbwch dwyehtuphlwaeruxngkayaekhra hruxetiyphralkunthkphththiyethrakhxmulthwipchuxedimphththiyachuxxunphralkunthk phraphththiyasthanthiekidemuxngsawtthiwithibwchexhiphikkhuxupsmpthathanaedimchawemuxngsawtthibidabutresrsthiinemuxngsawtthiwrrnaedimswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprawtiphththiya epnechuxedimkhxng phralkundkphththiya ekidintrakulmhaesrsthi inkrungsawtthi emuxecriywyxayumakkhunaetrangkaykhxngthanimecriyetibottamxayuyngkhngmirangkayelktaetiy ehmuxnedkwy 10 khwb chnthwipemuxcacungeriykchuxthankcaephimkhawa lkuntka sunghmaythung taetiy iwkhanghna chuxdwy cungepnthiruknodythwipwa thanphththiyaetiy hrux thanphththiya aekhrabwchinphraphuththsasnakhrawhnung lkundkphththiya idipfngthrrmkbphraphththecathiphramhawiharechtwn emuxphraphuththecaaesdngthrrmcb ekidsrththaaelakhxbwchinphraphuththsasna sungphraphuththecakxnuyatihbwch cungidchuxwa phralkundkphththiya emuxbwchaelwidsuksathrrm krrmthaninsankkhxngphraphuththeca aelaimnankbrrluthrrmepnphraosdabnxupsmbthaelw dwykhwamthimisrththamungmncungthaihthanidbrrluthrrmthisungkhunipxik inkhrawhnungdwykhwamthithanmiruprangetiy cungepnthikhbkhnkhxngphuphbehn idmihyingkhnhnungemuxehnthankxdthicakhaimid aelanangkkhahweraacnmxngehnfn cntwoyn phraethraehnxakardngnn idthuxexaepnnimitphicarnathrrm mxngehnchxngpakepnsingptikul skprk naekliyd cnidsaercepnphraxnakhami aelatxmathanidfngthrrmktha xnepn oxwathcakphrasaributrethra citkhludphncakkielsaswa saercepnphraxrhntthuklxeliynwaepnsamenrxangxingaehlngkhxmulxun