พระภรต (สันสกฤต: भरत, อักษรโรมัน: bharata, แปลตรงตัว 'The Cherished') เป็นบรรพบุรุษของทั้งฝ่ายเการพและปาณฑพ เรื่องราวของพระองค์ถูกเล่าอยู่ใน อาทิบรรพ ซึ่งเป็นบรรพแรกในคัมภีร์มหาภารตะ โดยเล่าถึงการกำเนิดของพระองค์ และเรื่องของ และนาง.
พระภรต Bharata | |
---|---|
จักรพรรดิ | |
ภรตเล่นกับลูกสิงโต ภาพวาดโดยราชา รวิ วรรมา | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ประสูติ | อาศรมของ |
คู่อภิเษก | สุนันทา, 2 องค์อื่น |
ราชวงศ์ | จันทรวงศ์ |
พระราชบิดา | แห่ง หัสตินาปุระ |
พระราชมารดา |
ในมหากาพย์มหาภารตะ บรรพบุรุษของนั้นเริ่มต้นจากพระองค์เป็นปฐม ในการครองราชย์ของพระองค์ และอาณาจักรของพระองค์ ทุกคนจึงเรียกว่า ภารตะ
ประวัติของพระองค์ในโลกวรรณกรรม
จากบันทึกใน มหาภารตะ (จับความจากตอน อาทิบรรพ) เล่าว่า พระองค์เป็นพระโอรสของ กับนาง พระองค์เป็นรัชทายาทแห่ง จันทรวงศ์ แห่งวรรณะกษัตริย์ พระองค์มีพระนามเดิมว่า สรรวทมน์ สรรวทน์เติบโตขึ้นเป็นเด็กที่แข็งแรง อยู่ท่ามกลางเหล่าสัตว์ร้าย มักเล่นสนุกโดยการเปิดปากเสือหรือสิงโต แล้วนับจำนวนฟัน ต่อมาฤๅษีทุรวาสได้สาปให้ท้าวทุษยันต์ลืมนางศกุนตลา จนกว่าจะได้ทอดพระเนตรแหวนที่พระองค์ประทานให้นางศกุนตลา เมื่อท้าวทุษยันต์ทรงจำนางศกุนตลาได้แล้ว พระองค์ทรงยกราชบัลลังก์ให้แก่สรรวทมน์ และทรงตั้งชื่อให้ใหม่ว่าภรต
พระภรตได้ครองบัลลังก์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์ แต่ก็ทรงแผ่พระราชอำนาจไปทั่วชมพูทวีปในสมัยนั้น ชมพูทวีปจึงมีนามว่าภารตวรรษ แปลว่าดินแดนของภรต ในวิษณุปุราณะได้ระบุขอบเขตของดินแดนภารตวรรษว่า"วรรษที่ตั้งอยู่เหนือมหาสมุทรและทางใต้ของภูเขาหิมาลัยเรียกว่าภารตวรรษ" พระภรตเป็นกษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม พระฤๅษีกัณวะเป็นราชปุโรหิตของพระองค์ พระองค์ได้ทรงประกอบพิธีอัศวเมธที่ริมฝั่งแม่น้ำยมุนา 100 ครั้ง ริมแม่น้ำสรัสวตี 300 ครั้ง ริมแม่น้ำคงคา 400 ครั้ง ทรงประกอบพิธีอัศวเมธอีกพันครั้ง อีกทั้งยังทรงประกอบพิธีราชสูยะ100ครั้ง และทรงทำพิธีอื่นๆอีกเช่นอัคนิโสม วิศวาชิต เป็นต้น พระภรตมีบุตรชื่อเภามันยุ โดยกำเนิดของเภามันยุมี2ตำนานคือ
1)เป็นบุตรของพระภรตกับพระนางสุนันทา ธิดาของท้าวสรรวเสนา พระราชาแคว้นกาสี
2)ประสูติจากพิธีกรรมของพระภรต
อ้างอิง
- Ganguly, KM (2006) [1883], The Mahabharata of Krishna-Dwaipayana Vyasa (Drona Parva Section LXVIII ed.), Sacred Texts
- Mackenzie, Donald A (2004) [1913], Indian Myth and Legend, CHAPTER IX: Prelude to the Great Bharata War, Sacred Texts
- Mahabharata, Adi Parva, Sambhava Parva
- Mahabharata, Adi Parva, Sambhava Parva (in Sanskrit)
- Apte, Vaman Shivaram (1959). "भरतः". . Poona: Prasad Prakashan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-09-20.
- (1973). "Introduction". Mahabharata Book I: The book of beginnings. University of Chicago Press. ISBN .
- (2010) "Hindus: Their Religious Beliefs and Practices.", p.23
- National Council of Educational Research and Training, History Text Book, Part 1, India
- The Mahābhārata. Buitenen, J. A. B. van (Johannes Adrianus Bernardus), 1928-1979,, Fitzgerald, James L. Chicago: University of Chicago Press. 1973. pp. 214. ISBN . OCLC 831317.
{{}}
: CS1 maint: others () - Mahabharata, Adi Parva, Sambhava Parva - Bharat Vamsha in Detail 16 มกราคม 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraphrt snskvt भरत xksrormn bharata aepltrngtw The Cherished epnbrrphburuskhxngthngfayekarphaelapanthph eruxngrawkhxngphraxngkhthukelaxyuin xathibrrph sungepnbrrphaerkinkhmphirmhapharta odyelathungkarkaenidkhxngphraxngkh aelaeruxngkhxng aelanang phraphrt Bharatackrphrrdiphrtelnkbluksingot phaphwadodyracha rwi wrrmakxnhnathdipprasutixasrmkhxngkhuxphiesksunntha 2 xngkhxunrachwngscnthrwngsphrarachbidaaehng hstinapuraphrarachmarda inmhakaphymhapharta brrphburuskhxngnnerimtncakphraxngkhepnpthm inkarkhrxngrachykhxngphraxngkh aelaxanackrkhxngphraxngkh thukkhncungeriykwa phartaprawtikhxngphraxngkhinolkwrrnkrrmcakbnthukin mhapharta cbkhwamcaktxn xathibrrph elawa phraxngkhepnphraoxrskhxng kbnang phraxngkhepnrchthayathaehng cnthrwngs aehngwrrnakstriy phraxngkhmiphranamedimwa srrwthmn srrwthnetibotkhunepnedkthiaekhngaerng xyuthamklangehlastwray mkelnsnukodykarepidpakesuxhruxsingot aelwnbcanwnfn txmavisithurwasidsapihthawthusyntlumnangskuntla cnkwacaidthxdphraentraehwnthiphraxngkhprathanihnangskuntla emuxthawthusyntthrngcanangskuntlaidaelw phraxngkhthrngykrachbllngkihaeksrrwthmn aelathrngtngchuxihihmwaphrt phraphrtidkhrxngbllngktngaetthrngphraeyaw aetkthrngaephphrarachxanacipthwchmphuthwipinsmynn chmphuthwipcungminamwaphartwrrs aeplwadinaednkhxngphrt inwisnupuranaidrabukhxbekhtkhxngdinaednphartwrrswa wrrsthitngxyuehnuxmhasmuthraelathangitkhxngphuekhahimalyeriykwaphartwrrs phraphrtepnkstriythithrngkhunthrrm phravisiknwaepnrachpuorhitkhxngphraxngkh phraxngkhidthrngprakxbphithixswemththirimfngaemnaymuna 100 khrng rimaemnasrswti 300 khrng rimaemnakhngkha 400 khrng thrngprakxbphithixswemthxikphnkhrng xikthngyngthrngprakxbphithirachsuya100khrng aelathrngthaphithixunxikechnxkhniosm wiswachit epntn phraphrtmibutrchuxephamnyu odykaenidkhxngephamnyumi2tanankhux 1 epnbutrkhxngphraphrtkbphranangsunntha thidakhxngthawsrrwesna phrarachaaekhwnkasi 2 prasuticakphithikrrmkhxngphraphrtxangxingGanguly KM 2006 1883 The Mahabharata of Krishna Dwaipayana Vyasa Drona Parva Section LXVIII ed Sacred Texts Mackenzie Donald A 2004 1913 Indian Myth and Legend CHAPTER IX Prelude to the Great Bharata War Sacred TextsMahabharata Adi Parva Sambhava Parva Mahabharata Adi Parva Sambhava Parva in Sanskrit Apte Vaman Shivaram 1959 भरत Poona Prasad Prakashan khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 01 13 subkhnemux 2020 09 20 1973 Introduction Mahabharata Book I The book of beginnings University of Chicago Press ISBN 9780226846637 2010 Hindus Their Religious Beliefs and Practices p 23 National Council of Educational Research and Training History Text Book Part 1 India The Mahabharata Buitenen J A B van Johannes Adrianus Bernardus 1928 1979 Fitzgerald James L Chicago University of Chicago Press 1973 pp 214 ISBN 0226846636 OCLC 831317 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk Mahabharata Adi Parva Sambhava Parva Bharat Vamsha in Detail 16 mkrakhm 2010 thi ewyaebkaemchchin