พรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย (Socialist Party of Indonesia (Indonesian: Partai Sosialis Indonesia) เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซียระหว่าง พ.ศ. 2491 – 2503 พรรคนี้ถูกคว่ำบาตรโดยซูการ์โน
จุดกำเนิด
ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2488 พรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย (ปาร์ซี) ของอามีร์ ซารีฟุดดินและพรรคประชาชนสังคมนิยม (ปาร์ซัส) ของซูตัน ชะห์รีร์ได้รวมตัวกันเป็นพรรคสังคมนิยม ชะห์รีเป็นหัวหน้าพรรคที่เกิดใหม่ พรรคนี้เป็นที่นิยมในหมู่ปัญญาชนและนักศึกษา เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2488 พรรคนี้มีที่นั่งในคณะกรรมกลางแห่งชาติอินโดนีเซียซึ่งเป็นสภาโดยพฤตินัย 25 ที่นั่ง ทั้งอามีรและซูตันต่างได้เป็นนายกรัฐมนตรี ผู้นำคนอื่นของพรรคได้เป็นรัฐมนตรี ความแตกแยกภายในพรรคเกิดขึ้นใน พ.ศ. 2490 เนื่องจากอามีรและกลุ่มนิยมคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลมากในพรรค ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 อามีรขับซูตันออกจากพรรค ซูตันได้ตั้งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียขึ้นมาใหม่เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
ยุคเสรีประชาธิปไตย
หลังการจัดตั้งสาธารณรัฐอินโดนีเซียที่เป็นเอกราชขึ้นใน พ.ศ. 2493 พรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียได้ 17 ที่นั่งในสภา ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2498 พรรคได้รับเลือก 5 ที่นั่ง
ความตกต่ำ
หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2498 เกิดความแตกแยกระหว่างนักการเมืองที่มาจากเกาะชวาและเกาะต่างๆ ในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 สมาชิกพรรคที่ไม่ได้เป็นชาวชวาลาออกจากพรรค ในวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499 เรียกร้องให้ยกเลิกพรรคการเมืองซึ่งนำไปสู่แนวคิดในพ.ศ. 2500 ซึ่งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียต่อต้าน
ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2499 ผู้บัญชาการทหารในเกาะสุมาตราได้ประกาศเข้าควบคุมรัฐบาลท้องถิ่น วิกฤติได้ขยายไปในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2500 ผู้บัญชาการทหารแห่งอินโดนีเซียตะวันออกได้ประกาศกฎอัยการศึก ต่อมา คณะรัฐมนตรีลาออก และซูการ์โนได้ประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2500 สุมิตโตร โยโยฮาดิกุสุโม สมาชิกพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียได้ออกจากจาการ์ตาไปยังสุมาตรา และพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียได้เรียกร้องให้จัดตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2501 ต่อมา ในเดือนกุมภาพันธ์ได้มีการจัดตั้งรัฐบาลของฝ่ายกบฏเรียกรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย มี อามีร ซารีฟุดดินเป็นนายกรัฐมนตรี ฮัตตาและสมาชิกพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียในจาการ์ตาเรียกร้องให้มีการเจรจา แต่รัฐบาลตัดสินใจปราบปรามด้วยกำลังทหาร และปราบฝ่ายกบฏได้ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2501 หลังจากนั้น ซูการ์โนยังคงใช้ประชาธิปไตยแบบชี้นำต่อไป จนกระทั่งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซียและพรรคมัสยูมีถูกคว่ำบาตรในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2503 เพราะต่อต้านประชาธิปไตยแบบชี้นำ
ปรัชญาของพรรค
ปรัชญาของพรรคได้รับอิทธิพลจาก ต้องการให้สร้างความทันสมัย พัฒนาเศรษฐกิจ ต่อต้านการใช้ชาตินิยมแบบสุดขั้ว และต่อต้านต่างชาติ
อ้างอิง
- Cribb, R. B. & Kahin, Audrey (2004) Historical Dictionary of Indonesia (second edition), Scarecrow Press ISBN 978-0-8108-4935-8 [1]
- (2007) The Decline of Constitutional Democracy in Indonesia Equinox Publishing (Asia) Pte Ltd,
- Kahin, George McTurnan (1952) Nationalism and Revolution in Indonesia Cornell University Press,
- Ricklefs (1982), A History of Modern Indonesia, Macmillan Southeast Asian reprint,
- Simanjuntak, P.H.H (2003) Kabinet-Kabinet Republik Indonesia: Dari Awal Kemerdekaan Sampai Reformasi (Cabinets of the Republic of Indonesia: From the Start of Independence to the Reform Era), Penerbit Djambatan, Jakarta,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phrrkhsngkhmniymxinodniesiy Socialist Party of Indonesia Indonesian Partai Sosialis Indonesia epnphrrkhkaremuxnginxinodniesiyrahwang ph s 2491 2503 phrrkhnithukkhwabatrodysukaronchahriprasythibahliemux ph s 2498cudkaenidineduxnthnwakhm ph s 2488 phrrkhsngkhmniymxinodniesiy parsi khxngxamir sarifuddinaelaphrrkhprachachnsngkhmniym parss khxngsutn chahriridrwmtwknepnphrrkhsngkhmniym chahriepnhwhnaphrrkhthiekidihm phrrkhniepnthiniyminhmupyyachnaelanksuksa emuxsinpi ph s 2488 phrrkhnimithinnginkhnakrrmklangaehngchatixinodniesiysungepnsphaodyphvtiny 25 thinng thngxamiraelasutntangidepnnaykrthmntri phunakhnxunkhxngphrrkhidepnrthmntri khwamaetkaeykphayinphrrkhekidkhunin ph s 2490 enuxngcakxamiraelaklumniymkhxmmiwnistmixiththiphlmakinphrrkh ineduxnmithunayn ph s 2490 xamirkhbsutnxxkcakphrrkh sutnidtngphrrkhsngkhmniymxinodniesiykhunmaihmemux 13 kumphaphnth ph s 2491yukhesriprachathipityhlngkarcdtngsatharnrthxinodniesiythiepnexkrachkhunin ph s 2493 phrrkhsngkhmniymxinodniesiyid 17 thinnginspha inkareluxktng ph s 2498 phrrkhidrbeluxk 5 thinngkhwamtktahlngkareluxktng ph s 2498 ekidkhwamaetkaeykrahwangnkkaremuxngthimacakekaachwaaelaekaatang inwnthi 20 krkdakhm ph s 2499 smachikphrrkhthiimidepnchawchwalaxxkcakphrrkh inwnthi 28 tulakhm ph s 2499 eriykrxngihykelikphrrkhkaremuxngsungnaipsuaenwkhidinph s 2500 sungphrrkhsngkhmniymxinodniesiytxtan ineduxnthnwakhm ph s 2499 phubychakarthharinekaasumatraidprakasekhakhwbkhumrthbalthxngthin wikvtiidkhyayipineduxnminakhm ph s 2500 phubychakarthharaehngxinodniesiytawnxxkidprakaskdxykarsuk txma khnarthmntrilaxxk aelasukaronidprakaskdxykarsukthwpraeths ineduxnphvsphakhm ph s 2500 sumitotr oyoyhadikusuom smachikphrrkhsngkhmniymxinodniesiyidxxkcakcakartaipyngsumatra aelaphrrkhsngkhmniymxinodniesiyideriykrxngihcdtngkhnarthmntriihmineduxnmkrakhm ph s 2501 txma ineduxnkumphaphnthidmikarcdtngrthbalkhxngfaykbteriykrthbalptiwtiaehngsatharnrthxinodniesiy mi xamir sarifuddinepnnaykrthmntri httaaelasmachikphrrkhsngkhmniymxinodniesiyincakartaeriykrxngihmikarecrca aetrthbaltdsinicprabpramdwykalngthhar aelaprabfaykbtidinchwngklangpi ph s 2501 hlngcaknn sukaronyngkhngichprachathipityaebbchinatxip cnkrathngphrrkhsngkhmniymxinodniesiyaelaphrrkhmsyumithukkhwabatrineduxnsinghakhm ph s 2503 ephraatxtanprachathipityaebbchinaprchyakhxngphrrkhprchyakhxngphrrkhidrbxiththiphlcak txngkarihsrangkhwamthnsmy phthnaesrsthkic txtankarichchatiniymaebbsudkhw aelatxtantangchatixangxingCribb R B amp Kahin Audrey 2004 Historical Dictionary of Indonesia second edition Scarecrow Press ISBN 978 0 8108 4935 8 1 2007 The Decline of Constitutional Democracy in Indonesia Equinox Publishing Asia Pte Ltd ISBN 979 3780 45 2 Kahin George McTurnan 1952 Nationalism and Revolution in Indonesia Cornell University Press ISBN 0 8014 9108 8 Ricklefs 1982 A History of Modern Indonesia Macmillan Southeast Asian reprint ISBN 0 333 24380 3 Simanjuntak P H H 2003 Kabinet Kabinet Republik Indonesia Dari Awal Kemerdekaan Sampai Reformasi Cabinets of the Republic of Indonesia From the Start of Independence to the Reform Era Penerbit Djambatan Jakarta ISBN 979 428 499 8