พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Partai Komunis Indonesia, PKI) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มีอำนาจปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พรรคนี้ถูกปราบปรามอย่างหนักใน พ.ศ. 2508 และถูกคว่ำบาตรในปีต่อมา
องค์กรที่เกิดขึ้นก่อน
องค์กรเริ่มต้นที่สำคัญก่อตั้งโดยนักสังคมนิยมชาวดัตช์ ใน พ.ศ. 2457 ในชื่อสมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีส (Indies Social Democratic Association; ภาษาดัตช์: Indische Sociaal-Democratische Vereeniging, ISDV) มีสมาชิก 85 คน จากพรรคการเมืองนิยมสังคมนิยมของดัตช์ 2 พรรคคือ SDAP และพรรคสังคมนิยมเนเธอร์แลนด์ที่ต่อมากลายเป็น (SDP) ที่มีสาขาในดัตช์อีสต์อินดีส สมาชิกขององค์กรนี้ได้นำแนวคิดลัทธิมาร์กมากระตุ้นให้ชาวอินโดนีเซียต่อต้านระบอบอาณานิคม
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2458 สมาคมได้ตีพิมพ์หนังสือภาษาดัตช์ โลกเสรี (Het Vrije Woord) บรรณาธิการคือ อดอล์ฟ บาร์ สมาคมนี้ไม่ได้มีเป้าหมายในการเรียกร้องเอกราชเมื่อแรกก่อตั้ง ในช่วงดังกล่าวสมาคมนี้มีสมาชิกประมาณ 100 คน เป็นชาวอินโดนีเซียเพียง 3 คน สมาคมนี้ได้กลายเป็นสมาคมหัวรุนแรงและต่อต้านการควบคุมจากศูนย์กลาง สมาชิกพรรค SDAP ในเนเธอร์แลนด์เริ่มลำบากใจที่จะร่วมมือกับสมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีส ใน พ.ศ. 2460 กลุ่มปฏิรูปของสมาคมได้แยกตัวออกไปตั้ง ในปีเดียวกันนี้ สมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีสได้ตีพิมพ์เอกสารเป็นภาษาอินโดนีเซียครั้งแรกในชื่อ เสียงเสรีภาพ (Soeara Merdeka)
เซฝลีต ผู้นำสมาคมเห็นว่าการปฏิวัติเดือนตุลาคมเป็นสิ่งที่ควรทำตามในอินโดนีเซีย สมาคมได้จัดตั้งผู้พิทักษ์แดง มีสมาชิกประมาณ 3,000 คน ใน พ.ศ. 2460 ได้เกิดการต่อสู้และจัดตั้งโซเวียตในสุราบายา รัฐบาลอาณานิคมได้กดดันโซเวียตและสมาคม ผู้นำสมาคมถูกส่งตัวกลับไปเนเธอร์แลนด์ รวมทั้งเซฝลีต ผู้นำทหารในการลุกฮือขึ้นก่อการ ถูกตัดสินจำคุก 40 ปี
ในเวลาต่อมา สมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีสได้เป็นสมาชิกภายในสหภาพอิสลามซึ่งเป็นกลุ่มต่อต้านคอมมิวนิสต์ สมาชิกสหภาพ 2 คนจากเซอมารังคือ เซอมวน และดาร์โซโนได้สนใจแนวคิดของเซฝลีต ในที่สุดสมาชิกสหภาพอิสลามได้ตกลงจะจัดตั้งองค์กรที่เน้นการปฏิวัติด้วยลัทธิมาร์กคือสหภาพประชาชน สมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีสยังคงดำเนินงานต่อไปและตีพิมพ์ เสียงจากประชาชน ต่อมา สมาชิกภายในองค์กรได้เปลี่ยนจากที่แต่เดิมเป็นชาวดัตช์เป็นส่วนใหญ่กลายเป็นมีชาวอินโดนีเซียเป็นส่วนใหญ่ ใน พ.ศ. 2462 เหลือสมาชิกชาวดัตช์เพียง 25 คน จากสมาชิก 400 คน
การก่อตั้งและการเติบโต
ในการประชุมสมาคมประชาธิปไตยสังคมอินดีสเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 ในเซอมารังได้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมคอมมิวนิสต์อินดีส (ภาษาอินโดนีเซีย: Perserikatan Komunis di Hindia) เซอมวนเป็นหัวหน้าพรรคและดาร์โซโนเป็นรองประธาน ส่วนเลขาธิการพรรคเป็นชาวดัตช์ สมาคมนี้ถือเป็นพรรคคอมมิวนิสต์พรรคแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พรรคนี้เข้าร่วมคอมมิวนิสต์สากลใน พ.ศ. 2464
ในการประชุมสหภาพอิสลาม พ.ศ. 2464 สมาชิกกังวลเกี่ยวกับกลยุทธของเซฝลีตและพยายามหยุดยั้ง อากุส ซาลิม เลขาธิการขององค์กรได้สั่งคว่ำบาตรสมาชิกพรรคที่เป็นสมาชิกพรรคอื่นด้วย แม้จะมีการต่อต้านจากตัน มะละกาและเซอมวน แต่ก็ได้บังคับให้กลุ่มคอมมิวนิสต์เปลี่ยนกลยุทธ ในเวลาเดียวกัน รัฐบาลเจ้าอาณานิคมเข้ามาควบคุมกิจกรรมทางการเมือง สหภาพอิสลามจึงหันมาสนใจกิจกรรมทางศาสนาแทน ปล่อยให้กลุ่มคอมมิวนิสต์เป็นกลุ่มชาตินิยมที่ทำงานอยู่องค์กรเดียว
เซอมวนได้ไปร่วมประชุมแรงงานตะวันออกไกลที่มอสโกในราว พ.ศ. 2464 ร่วมกับ ตัน มะละกา เมื่อกลับมา พยายามจัดตั้งสหภาพแรงงานอินโดนีเซียเพื่อนัดหยุดงานระดับชาติแต่ล้มเหลว ตัน มะละกาถูกจับและเขาตัดสินใจลี้ภัยไปรัสเซียในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2465 เซอมวนเดินทางกลับจากรัสเซียและเริ่มจัดตั้งสหภาพแรงงาน และได้จัดตั้งองค์กรแรงงานสหภาพแห่งอินโดนีเซีย (Persatuan Vakbonded Hindia) สำเร็จเมื่อ 22 กันยายน
ในการประชุมโคมินเทิร์น พ.ศ. 2467 ได้กล่าวถึงสมาคมคอมมิวนิสต์อินดีสว่าได้เริ่มเน้นการสร้างสหภาพ จำเป็นต้องปรับปรุงวินัย และต้องจัดตั้งสาธารณรัฐโซเวียตอินโดนีเซียขึ้น สมาคมคอมมิวนิสต์อินดีสได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียใน พ.ศ. 2467
การปฏิวัติ พ.ศ. 2469
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2468 คณะกรรมการสูงสุดของโคมินเทิร์นได้สั่งให้คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซียเข้าร่วมต่อต้านจักรวรรดินิยมกับองค์กรที่ไม่เป็นคอมมิวนิสต์ แต่กลุ่มที่สุดโต่งนำโดยอาลีมินและมุสโก เรียกร้องให้ปฏิวัติล้มล้างรัฐบาลอาณานิคมของดัตช์ ในการประชุมที่ปรัมบานัน ชวากลาง สหภาพการค้าที่ถูกควบคุมโดยคอมมิวนิสต์ตัดสินใจปฏิวัติโดยเริ่มจากการนัดหยุดงานของคนงานทางรถไฟ ซึ่งจะเป็นสัญญาณ จากนั้น การปฏิวัติจะเริ่มขึ้น
แผนการปฏิวัติเริ่มต้นที่ปาดัง ในเกาะสุมาตรา แต่เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลเข้าปราบปรามให้สงบได้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2469 การจับกุมสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ทำให้พรรคต้องต่อสู้ใต้ดิน ความแตกแยกในกลุ่มผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย ทำให้การปฏิวัติไม่ได้วางแผนดีพอ ตัน มะละกาซึ่งในขณะนั้นเป็นตัวแทนโคมินเทิร์นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย ไม่ได้เห็นด้วยกับแผนนี้ เพราะเขาเชื่อว่าพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียยังได้รับการสนับสนุนไม่มากพอ ในที่สุด แผนการปฏิวัติในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2469 ถูกยกเลิกไป แต่ก็มีการปฏิวัติในขอบเขตจำกัดขึ้นในปัตตาเวีย ในวันที่ 12 พฤศจิกายน มีเหตุการณ์คล้ายๆกันนี้เกิดขึ้นที่ปาดัง บันตัม และสุราบายา การปฏิวัติในปัตตาเวียเกิดขึ้นเพียง 1-2 วัน และใช้เวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ก็สามารถปราบปรามได้ทั้งประเทศ ผลจากการปฏิวัตที่ล้มเหลว มีผู้ถูกจับกุม 13,000 คน ถูกจำคุก 4,500 คน ถูกกักขัง 1,308 คน และลี้ภัยไปเมือง 823 คน มีคนตายในเมืองหลวงหลายคน นักการเมืองที่ไม่ได้นิยมคอมมิวนิสต์หลายคนกลายเป็นเป้าหมายของรัฐบาลอาณานิคมระหว่างที่มีการควบคุมการปฏิวัติของฝ่ายคอมมิวนิสต์ พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียกลายเป็นพรรคนอกกฎหมายโดยรัฐบาลดัตช์อีสต์อินดีสใน พ.ศ. 2470 ทำให้พรรคต้องกลายเป็นองค์กรนอกกฎหมายและต่อสู้ใต้ดินจนถึงยุคที่ญี่ปุ่นเข้ามาปกครอง
การดำเนินงานในช่วงแรกของพรรคหลังกลายเป็นพรรคนอกกฎหมายมีจำกัด เพราะผู้นำพรรคส่วนมากถูกจำคุก จนกระทั่ง พ.ศ. 2478 มุสโซ ผู้นำพรรคกลับมาจากการลี้ภัยในมอสโก ได้จัดตั้งองค์กรของพรรคขึ้นมาใหม่ พรรคทำงานภายในแนวร่วมที่หลากหลาย เช่น เฆอรินโด และสหภาพการค้า ในฮอลแลนด์ พรรคคอมมิวนิสต์เข้าไปทำงานในกลุ่มนักศึกษาอินโดนีเซีย ในองค์กรชาตินิยม และต่อมาก็สามารถควบคุมองค์กรนั้นได้
หลังสงครามโลก
พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียปรากฏขึ้นมามีบทบาททางการเมืองอีกครั้ง หลังจากญี่ปุ่นยอมแพ้เมื่อ พ.ศ. 2488 ในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ หน่วยติดอาวุธจำนวนมากถูกพรรคคอมมิวนิสต์ควบคุมหรือมีอิทธิพล แม้ว่ากองทัพของพรรคคอมมิวนิสต์มีบทบาทที่สำคัญในการต่อสู้ต่อต้านเนเธอร์แลนด์ ประธานาธิบดีซูการ์โนมีความกังวลกับบทบาทของพรรคคอมมิวนิสต์และทำให้เกิดปัญหาในกลุ่มนักการเมืองฝ่ายขวาและมหาอำนาจต่างชาติโดยเฉพาะสหรัฐ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับกองกำลังอื่นๆมีความยากลำบาก ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 พรรคคอมมิวนิสต์และพรรคสังคมนิยมได้จัดตั้งแนวร่วมประชาธิปไตยประชาชน ต่อมา พรรคสังคมนิยมได้รวมเข้ากับพรรคคอมมิวนิสต์ พรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ควบคุมกองทัพเปอซินโด ในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2491 มุสโซได้เดินทางมายังจาการ์ตาหลังจากลี้ภัยไปยังสหภาพโซเวียต 12 ปี และได้จัดตั้งคณะกรรมการโปลิตบูโรของพรรคขึ้นอีกครั้ง
หลังการลงนามในใน พ.ศ. 2491 กองทัพส่วนใหญ่ของฝ่ายสาธารณรัฐกลับจากพื้นที่ความขัดแย้งทำให้กองทัพฝ่ายขวาเชื่อมั่นว่าสามารถต่อต้านกองทัพของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียได้ กองโจรและทหารที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกคว่ำบาตร ในมาดียุน กองทหารของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียที่ปฏิเสธการปลดอาวุธถูกฆ่า ในเดือนกันยายน ปีเดียวกัน การฆ่านี้ทำให้เกิดความรุนแรงขึ้น พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียประกาศตั้งสาธารณรัฐโซเวียตอินโดนีเซียในวันที่ 18 กันยายน โดยมุสโซเป็นประธานาธิบดี และอามีร์ ซารีฟุดดินเป็นนายกรัฐมนตรี กองทัพฝ่ายสาธารณรัฐเข้ามาปราบปรามและเข้ายึดครองมาดียุนได้ในวันที่ 30 กันยายน สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียราวพันคนถูกฆ่า และถูกจำคุก 36,000 คน ผู้นำหลายคนรวมทั้งมุสโซถูกประหารชีวิตเมื่อ 31 ตุลาคม หลังจากพยายามหนีออกจากที่คุมขัง ไอดิตและลุกมันลี้ภัยไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน อย่างไรก็ตาม พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียไม่ถูกคว่ำบาตรและยังคงดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่อไปได้ พรรคถูกฟื้นฟูอีกครั้งใน พ.ศ. 2492
ใน พ.ศ. 2493 พรรคได้ปรากฏตัวอีกครั้ง โดยเป็นกลุ่มชาตินิยมภายใต้การนำของดีปา นูยันตารา ไอดิต ต่อต้านอาณานิคมและนโยบายนิยมตะวันตกของประธานาธิบดีซูการ์โน ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2494 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเริ่มก่อตั้งกองทหารในเมดานและจาการ์ตา ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียหลบไปอยู่ใต้ดินในช่วงเวลาสั้นๆ
ทศวรรษ 2493
ก่อนการเลือกตั้ง พ.ศ. 2498 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียสนับสนุนของซูการ์โน และเป็นกลุ่มที่สนับสนุนซูการ์โน พรรคได้รับเลือก 39 ที่นั่ง การต่อต้านการครอบครองอิเรียนจายาต่อไปของดัตช์เป็นหัวข้อสำคัญที่พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียกล่าวถึงในทศวรรษนี้ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2500 มีการโจมตีสำนักงานของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในจาการ์ตา ในเดือนกันยายนปีเดียวกันนั้น พรรคมัสยูมีเรียกร้องให้คว่ำบาตรพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย
ในวันที่ 3 ธันวาคม สหภาพการค้าที่ถูกครอบงำโดยพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเริ่มเข้าควบคุมบริษัทของชาวดัตช์ เพื่อแสดงถึงการต่อต้านบริษัทต่างชาติทำให้พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกมองว่าเป็นพรรคชาตินิยม
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 เกิดความพยายามก่อรัฐประหารโดยกองทัพที่นิยมสหรัฐและพรรคการเมืองฝ่ายขวา กลุ่มกบฏมีฐานที่มั่นที่สุมาตราและซูลาเวซีได้ประกาศจัดตั้งรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ และจับกุมสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในพื้นที่ควบคุมไว้ พรรคคอมมิวนิสต์สนับสนุนซูการ์โนให้ปราบกบฏและให้นำกฎอัยการศึกมาใช้ ในที่สุดฝ่ายกบฏเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ไป
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2502 มีปฏิบัติการในระดับกองทัพเพื่อปกป้องการประชุมใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียใน พ.ศ. 2503 ซูการ์โนได้ประกาศคำขวัญนาซากม ซึ่งย่อมาจากชาตินิยม ศาสนา และคอมมิวนิสต์ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในรัฐบาลซูการ์โน
ทศวรรษ 2503
แม้พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียจะสนับสนุนซูการ์โนแต่ก็ไม่ได้ละทิ้งอุดมการณ์ทางการเมืองของตนเอง ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2503 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียได้ประกาศถึงการจัดงบประมาณที่ไม่เป็นประชาธิปไตยของซูการ์โน เมื่อมีการจัดตั้งมาเลเซีย พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียได้ออกมาต่อต้านเช่นเดียวกับพรรคคอมมิวนิสต์มลายา การเติบโตของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงนี้ทำให้พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลกรองจากสหภาพโซเวียตและจีน มีองค์กรที่เป็นแนวร่วมมากมาย ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2505 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเข้าร่วมรัฐบาล ไอดิตและโยโตได้เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรี ใน พ.ศ. 2506 รัฐบาลมาเลเซีย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ได้ประชุมกันเพื่อจัดตั้ง พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียปฏิเสธแนวคิดนี้เช่นกัน ทหารของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียข้ามพรมแดนไปยังมาเลเซียและรบกับกองทหารอังกฤษและออสเตรเลียที่ประจำการอยู่ที่นั่น บางกลุ่มเดินทางไปยังมลายาเพื่อเข้าร่วมการต่อสู้ แต่ส่วนใหญ่ถูกจับตัวได้ กองทหารของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียจะมีกิจกรรมในเกาะบอร์เนียว
การฆ่าฟันครั้งใหญ่และจุดจบของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย
การที่พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเติบโตและมีบทบาทในรัฐบาลซูการ์โนสร้างความกังวลให้แก่สหรัฐและมหาอำนาจตะวันตกที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2507 พรรคมูร์บากล่าวหาว่าพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเตรียมก่อการรัฐประหาร พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเรียกร้องให้คว่ำบาตรพรรคมูร์บา ซึ่งซูการ์โนได้ทำตามในต้นปี พ.ศ. 2508 ในการเผชิญหน้ากับมาเลเซีย พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเรียกร้องให้ติดอาวุธประชาชนแต่กองทัพเพิกเฉย ในเดือนกรกฎาคม พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเริ่มฝึกทหารใกล้สนามบินฮาลิม ในวันที่ 8 กันยายน ผู้ประท้วงสังกัดพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเริ่มประท้วงที่สุราบายา ในวันที่ 30 กันยายน พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียได้จัดแรลลี่ในจาการ์ตา
ในคืนวันที่ 30 กันยายนและเช้าวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2508 นายพลระดับสูงของอินโดนีเซีย 6 คนถูกสังหาร นายพลซูฮาร์โตเข้ามามีบทบาทในกองทัพ และก่อรัฐประหารในวันที่ 2 ตุลาคม ประกาศต่อต้านคอมมิวนิสต์ ซูฮาร์โตบีบให้ซูการ์โนลาออก และขึ้นเป็นประธานาธิบดีแทนใน พ.ศ. 2511 การต่อต้านพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเกิดขึ้นในอินโดนีเซีย สำนักงานใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกเผา กลุ่มขององค์กรมุสลิมอันซอร์ได้จัดเดินขบวนต่อต้านพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในวันที่ 13 ตุลาคม มีชาวอินโดนีเซียสามแสนถึงล้านคนถูกฆ่าในการสังหารครั้งใหญ่หลังเหตุการณ์นี้ พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกคว่ำบาตรในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2509 สหภาพการค้าที่นิยมพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกคว่ำบาตรในเดือนเมษายน
หลังพ.ศ. 2508
พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียยังคงอยู่ในช่วงการสังหารหมู่ พ.ศ. 2508 – 2509 เมื่อไอดิตและโยโตถูกฆ่า ซูดิสมันขึ้นมาเป็นผู้นำก่อนจะถูกสังหารใน พ.ศ. 2510 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียไปตั้งมั่นที่บลีตาร์ในชวาตะวันออกจนเดือนมีนาคม พ.ศ. 2511 จึงถูกโจมตี ผู้นำรุ่นต่อมาคือ ซูกัตโน รุสลัน วิยายาซัสตราและอิสกันดาร์ ซูเบกตีถูกฆ่า สมาชิกพรรคบางส่วนหนีไปสาธารณรัฐประชาชนจีน บางส่วนไปยุโรปตะวันออก และยังดำเนินกิจกรรมทางการเมือง แต่ถูกโดดเดี่ยวจากการเมืองภายในอินโดนีเซีย ประธานาธิบดีวาฮิดได้เชิญชวนอดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียกลับสู่อินโดนีเซียใน พ.ศ. 2542 และเปิดกว้างให้กับแนวคิดคอมมิวนิสต์ แต่มีกลุ่มแนวร่วมอิสลามอินโดนีเซียออกมาต่อต้านข้อเสนอของวาฮิดในเดือนเมษายน พ.ศ. 2543 ใน พ.ศ. 2547 อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียยังถูกขึ้นบัญชีดำในการเข้าทำงานกับรัฐ
อ้างอิง
- Mortimer (1974) p19
- Ricklefs(1982) p259
- marxist.com
- Sinaga (1960) p14
- Reid, Anthony (1973). The Indonesian National Revolution 1945-1950. Melbourne: Longman Pty Ltd. p. 83. ISBN .
- marxist.org
- Indonesians Go to the Polls: The Parties and their Stand on Constitutional Issues by Harold F. Gosnell. In Midwest Journal of Political Science May, 1958. p. 189
- The Sukarno years: 1950 to 1965
- Harold Crouch, 227.
- Asian News Digest (2000) 1(18):279 and 1(19):295-296.
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
หนังสือและบทความ
- Crouch, Harold (1978). The Army and Politics in Indonesia. Ithaca, New York: Cornell University Press. ISBN .
- Hunter, Helen-Louise, (2007) Sukarno and the Indonesian coup : the untold story Westport, Conn. : Praeger Security International. PSI reports (Westport, Conn.) (hbk.) (hbk.)
- J.L. Holzgrefe / Robert O. Keohane: Humanitarian Intervention: Ethical, Legal and Political Dilemmas. Cambridge (2003). , S. 47
- Jochen Hippler, Nasr Hamid Abu Zaid, Amr Hamzawy: Krieg, Repression, Terrorismus. 2007-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนPolitische Gewalt und Zivilisation in westlichen und muslimischen Gesellschaften. ifa, Stuttgart 2006, S. 55-58 (Review)
- Mark Levene u. Penny Roberts: The Massacre in History. (1999). , S. 247-251
- Mortimer, Rex (1974). Indonesian Communism Under Sukarno: Ideology and Politics, 1959-1965. Ithaca, New York: Cornell University Press. ISBN .
- Ricklefs, M.C. (1982). A History of Modern Indonesia. London: MacMillan. ISBN .
- Sinaga, Edward Djanner (1960). Communism and the Communist Party in Indonesia (MA Thesis). George Washington University School of Government.
- Robert Cribb, 'The Indonesian Marxist tradition', in C.P. Mackerras and N.J. Knight, eds, Marxism in Asia (London: Croom Helm, 1985), pp. 251–272 [1] 2020-08-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Roosa, John (2006). Pretext for Mass Murder, The September 30th Movement & Suharto's Coup D'état. Madison, Wisconsin: University of Wisconsin Press. ISBN .
- ตวงทิพย์ พรมเขต. (2563). D.N. Aidit ทีปะ นุสันตารา ไอดิตกับพรรคคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย, กรุงเทพฯ: Illuminations Editions.
- ตวงทิพย์ พรมเขต. (2565). “กวาดล้างให้สิ้นซาก”: การเมืองอินโดนีเซีย หนังสือพิมพ์ฝ่ายขวา และการสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ระหว่างปี 1965-1966. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 47, น. 74-95. ISSN 0125-1902
เว็บไซต์
- People of Indonesia, Unite and Fight to Overthrow the Fascist Regime
- Defence speech given by Sudisman in 1967
- Shadow Play - Information regarding the 1965 coup and subsequent persecution of the PKI.
- The First Period of the Indonesian Communist Party (PKI): 1914-1926
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiy xinodniesiy Partai Komunis Indonesia PKI epnphrrkhkhxmmiwnistthiimidmixanacpkkhrxngthimikhnadihythisudinolk phrrkhnithukprabpramxyanghnkin ph s 2508 aelathukkhwabatrinpitxmaxngkhkrthiekidkhunkxnehk esflit xngkhkrerimtnthisakhykxtngodynksngkhmniymchawdtch in ph s 2457 inchuxsmakhmprachathipitysngkhmxindis Indies Social Democratic Association phasadtch Indische Sociaal Democratische Vereeniging ISDV mismachik 85 khn cakphrrkhkaremuxngniymsngkhmniymkhxngdtch 2 phrrkhkhux SDAP aelaphrrkhsngkhmniymenethxraelndthitxmaklayepn SDP thimisakhaindtchxistxindis smachikkhxngxngkhkrniidnaaenwkhidlththimarkmakratunihchawxinodniesiytxtanrabxbxananikhm ineduxntulakhm ph s 2458 smakhmidtiphimphhnngsuxphasadtch olkesri Het Vrije Woord brrnathikarkhux xdxlf bar smakhmniimidmiepahmayinkareriykrxngexkrachemuxaerkkxtng inchwngdngklawsmakhmnimismachikpraman 100 khn epnchawxinodniesiyephiyng 3 khn smakhmniidklayepnsmakhmhwrunaerngaelatxtankarkhwbkhumcaksunyklang smachikphrrkh SDAP inenethxraelnderimlabakicthicarwmmuxkbsmakhmprachathipitysngkhmxindis in ph s 2460 klumptirupkhxngsmakhmidaeyktwxxkiptng inpiediywknni smakhmprachathipitysngkhmxindisidtiphimphexksarepnphasaxinodniesiykhrngaerkinchux esiyngesriphaph Soeara Merdeka esflit phunasmakhmehnwakarptiwtieduxntulakhmepnsingthikhwrthataminxinodniesiy smakhmidcdtngphuphithksaedng mismachikpraman 3 000 khn in ph s 2460 idekidkartxsuaelacdtngosewiytinsurabaya rthbalxananikhmidkddnosewiytaelasmakhm phunasmakhmthuksngtwklbipenethxraelnd rwmthngesflit phunathharinkarlukhuxkhunkxkar thuktdsincakhuk 40 pi inewlatxma smakhmprachathipitysngkhmxindisidepnsmachikphayinshphaphxislamsungepnklumtxtankhxmmiwnist smachikshphaph 2 khncakesxmarngkhux esxmwn aeladarosonidsnicaenwkhidkhxngesflit inthisudsmachikshphaphxislamidtklngcacdtngxngkhkrthiennkarptiwtidwylththimarkkhuxshphaphprachachn smakhmprachathipitysngkhmxindisyngkhngdaeninngantxipaelatiphimph esiyngcakprachachn txma smachikphayinxngkhkridepliyncakthiaetedimepnchawdtchepnswnihyklayepnmichawxinodniesiyepnswnihy in ph s 2462 ehluxsmachikchawdtchephiyng 25 khn caksmachik 400 khnkarkxtngaelakaretibotkarprachumphrrkhkhxmmiwnistinpttaewiy ph s 2468 inkarprachumsmakhmprachathipitysngkhmxindisemuxwnthi 23 phvsphakhm ph s 2463 inesxmarngidepliynchuxepnsmakhmkhxmmiwnistxindis phasaxinodniesiy Perserikatan Komunis di Hindia esxmwnepnhwhnaphrrkhaeladarosonepnrxngprathan swnelkhathikarphrrkhepnchawdtch smakhmnithuxepnphrrkhkhxmmiwnistphrrkhaerkinexechiytawnxxkechiyngit phrrkhniekharwmkhxmmiwnistsaklin ph s 2464 inkarprachumshphaphxislam ph s 2464 smachikkngwlekiywkbklyuththkhxngesflitaelaphyayamhyudyng xakus salim elkhathikarkhxngxngkhkridsngkhwabatrsmachikphrrkhthiepnsmachikphrrkhxundwy aemcamikartxtancaktn malakaaelaesxmwn aetkidbngkhbihklumkhxmmiwnistepliynklyuthth inewlaediywkn rthbalecaxananikhmekhamakhwbkhumkickrrmthangkaremuxng shphaphxislamcunghnmasnickickrrmthangsasnaaethn plxyihklumkhxmmiwnistepnklumchatiniymthithanganxyuxngkhkrediyw esxmwnidiprwmprachumaerngngantawnxxkiklthimxsokinraw ph s 2464 rwmkb tn malaka emuxklbma phyayamcdtngshphaphaerngnganxinodniesiyephuxndhyudnganradbchatiaetlmehlw tn malakathukcbaelaekhatdsinicliphyiprsesiyineduxnphvsphakhm ph s 2465 esxmwnedinthangklbcakrsesiyaelaerimcdtngshphaphaerngngan aelaidcdtngxngkhkraerngnganshphaphaehngxinodniesiy Persatuan Vakbonded Hindia saercemux 22 knyayn inkarprachumokhminethirn ph s 2467 idklawthungsmakhmkhxmmiwnistxindiswaiderimennkarsrangshphaph caepntxngprbprungwiny aelatxngcdtngsatharnrthosewiytxinodniesiykhun smakhmkhxmmiwnistxindisidepliynchuxepnphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyin ph s 2467karptiwti ph s 2469ineduxnphvsphakhm ph s 2468 khnakrrmkarsungsudkhxngokhminethirnidsngihkhxmmiwnistinxinodniesiyekharwmtxtanckrwrrdiniymkbxngkhkrthiimepnkhxmmiwnist aetklumthisudotngnaodyxaliminaelamusok eriykrxngihptiwtilmlangrthbalxananikhmkhxngdtch inkarprachumthiprmbann chwaklang shphaphkarkhathithukkhwbkhumodykhxmmiwnisttdsinicptiwtiodyerimcakkarndhyudngankhxngkhnnganthangrthif sungcaepnsyyan caknn karptiwticaerimkhun aephnkarptiwtierimtnthipadng inekaasumatra aetecahnathikhxngrthbalekhaprabpramihsngbid tngaet ph s 2469 karcbkumsmachikphrrkhkhxmmiwnistthaihphrrkhtxngtxsuitdin khwamaetkaeykinklumphunaphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiy thaihkarptiwtiimidwangaephndiphx tn malakasunginkhnannepntwaethnokhminethirninexechiytawnxxkechiyngitaelaxxsetreliy imidehndwykbaephnni ephraaekhaechuxwaphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyyngidrbkarsnbsnunimmakphx inthisud aephnkarptiwtiineduxnmithunayn ph s 2469 thukykelikip aetkmikarptiwtiinkhxbekhtcakdkhuninpttaewiy inwnthi 12 phvscikayn miehtukarnkhlayknniekidkhunthipadng bntm aelasurabaya karptiwtiinpttaewiyekidkhunephiyng 1 2 wn aelaichewlaephiyngimkispdahksamarthprabpramidthngpraeths phlcakkarptiwtthilmehlw miphuthukcbkum 13 000 khn thukcakhuk 4 500 khn thukkkkhng 1 308 khn aelaliphyipemuxng 823 khn mikhntayinemuxnghlwnghlaykhn nkkaremuxngthiimidniymkhxmmiwnisthlaykhnklayepnepahmaykhxngrthbalxananikhmrahwangthimikarkhwbkhumkarptiwtikhxngfaykhxmmiwnist phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyklayepnphrrkhnxkkdhmayodyrthbaldtchxistxindisin ph s 2470 thaihphrrkhtxngklayepnxngkhkrnxkkdhmayaelatxsuitdincnthungyukhthiyipunekhamapkkhrxng kardaeninnganinchwngaerkkhxngphrrkhhlngklayepnphrrkhnxkkdhmaymicakd ephraaphunaphrrkhswnmakthukcakhuk cnkrathng ph s 2478 musos phunaphrrkhklbmacakkarliphyinmxsok idcdtngxngkhkrkhxngphrrkhkhunmaihm phrrkhthanganphayinaenwrwmthihlakhlay echn ekhxrinod aelashphaphkarkha inhxlaelnd phrrkhkhxmmiwnistekhaipthanganinklumnksuksaxinodniesiy inxngkhkrchatiniym aelatxmaksamarthkhwbkhumxngkhkrnnidhlngsngkhramolkphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiypraktkhunmamibthbaththangkaremuxngxikkhrng hlngcakyipunyxmaephemux ph s 2488 inkartxsuephuxeriykrxngexkrachcakenethxraelnd hnwytidxawuthcanwnmakthukphrrkhkhxmmiwnistkhwbkhumhruxmixiththiphl aemwakxngthphkhxngphrrkhkhxmmiwnistmibthbaththisakhyinkartxsutxtanenethxraelnd prathanathibdisukaronmikhwamkngwlkbbthbathkhxngphrrkhkhxmmiwnistaelathaihekidpyhainklumnkkaremuxngfaykhwaaelamhaxanactangchatiodyechphaashrth thaihkhwamsmphnthrahwangphrrkhkhxmmiwnistkbkxngkalngxunmikhwamyaklabak ineduxnkumphaphnth ph s 2491 phrrkhkhxmmiwnistaelaphrrkhsngkhmniymidcdtngaenwrwmprachathipityprachachn txma phrrkhsngkhmniymidrwmekhakbphrrkhkhxmmiwnist phrrkhkhxmmiwnistcungidkhwbkhumkxngthphepxsinod inwnthi 11 singhakhm ph s 2491 musosidedinthangmayngcakartahlngcakliphyipyngshphaphosewiyt 12 pi aelaidcdtngkhnakrrmkaroplitbuorkhxngphrrkhkhunxikkhrng hlngkarlngnaminin ph s 2491 kxngthphswnihykhxngfaysatharnrthklbcakphunthikhwamkhdaeyngthaihkxngthphfaykhwaechuxmnwasamarthtxtankxngthphkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyid kxngocraelathharthixyuphayitxiththiphlkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythukkhwabatr inmadiyun kxngthharkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythiptiesthkarpldxawuththukkha ineduxnknyayn piediywkn karkhanithaihekidkhwamrunaerngkhun phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyprakastngsatharnrthosewiytxinodniesiyinwnthi 18 knyayn odymusosepnprathanathibdi aelaxamir sarifuddinepnnaykrthmntri kxngthphfaysatharnrthekhamaprabpramaelaekhayudkhrxngmadiyunidinwnthi 30 knyayn smachikphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyrawphnkhnthukkha aelathukcakhuk 36 000 khn phunahlaykhnrwmthngmusosthukpraharchiwitemux 31 tulakhm hlngcakphyayamhnixxkcakthikhumkhng ixditaelalukmnliphyipyngsatharnrthprachachncin xyangirktam phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyimthukkhwabatraelayngkhngdaeninkickrrmthangkaremuxngtxipid phrrkhthukfunfuxikkhrngin ph s 2492 in ph s 2493 phrrkhidprakttwxikkhrng odyepnklumchatiniymphayitkarnakhxngdipa nuyntara ixdit txtanxananikhmaelanoybayniymtawntkkhxngprathanathibdisukaron ineduxnsinghakhm ph s 2494 phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyerimkxtngkxngthharinemdanaelacakarta phunaphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyhlbipxyuitdininchwngewlasnthswrrs 2493ixditprasyin ph s 2498 kxnkareluxktng ph s 2498 phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiysnbsnunkhxngsukaron aelaepnklumthisnbsnunsukaron phrrkhidrbeluxk 39 thinng kartxtankarkhrxbkhrxngxieriyncayatxipkhxngdtchepnhwkhxsakhythiphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyklawthunginthswrrsni ineduxnkrkdakhm ph s 2500 mikarocmtisankngankhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyincakarta ineduxnknyaynpiediywknnn phrrkhmsyumieriykrxngihkhwabatrphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiy inwnthi 3 thnwakhm shphaphkarkhathithukkhrxbngaodyphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyerimekhakhwbkhumbristhkhxngchawdtch ephuxaesdngthungkartxtanbristhtangchatithaihphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythukmxngwaepnphrrkhchatiniym ineduxnkumphaphnth ph s 2501 ekidkhwamphyayamkxrthpraharodykxngthphthiniymshrthaelaphrrkhkaremuxngfaykhwa klumkbtmithanthimnthisumatraaelasulaewsiidprakascdtngrthbalptiwtiaehngsatharnrthxinodniesiyemux 15 kumphaphnth aelacbkumsmachikphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyinphunthikhwbkhumiw phrrkhkhxmmiwnistsnbsnunsukaronihprabkbtaelaihnakdxykarsukmaich inthisudfaykbtepnfayphayaephip ineduxnsinghakhm ph s 2502 miptibtikarinradbkxngthphephuxpkpxngkarprachumihykhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyin ph s 2503 sukaronidprakaskhakhwynasakm sungyxmacakchatiniym sasna aelakhxmmiwnist aesdngihehnthungxiththiphlkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyinrthbalsukaronthswrrs 2503dipa nusntara ixdit khwa aelarawngaehngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyinkarprachumphrrkhexkphaphsngkhmniymkhrngthi 5 thiebxrlintawnxxk eyxrmn 11 krkdakhm ph s 2501 aemphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiycasnbsnunsukaronaetkimidlathingxudmkarnthangkaremuxngkhxngtnexng ineduxnminakhm ph s 2503 phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyidprakasthungkarcdngbpramanthiimepnprachathipitykhxngsukaron emuxmikarcdtngmaelesiy phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyidxxkmatxtanechnediywkbphrrkhkhxmmiwnistmlaya karetibotkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyinchwngnithaihphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyepnphrrkhkhxmmiwnistthimikhnadihyepnxndbsamkhxngolkrxngcakshphaphosewiytaelacin mixngkhkrthiepnaenwrwmmakmay ineduxnminakhm ph s 2505 phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyekharwmrthbal ixditaelaoyotidepnthipruksarthmntri in ph s 2506 rthbalmaelesiy xinodniesiyaelafilippinsidprachumknephuxcdtng phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyptiesthaenwkhidniechnkn thharkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiykhamphrmaednipyngmaelesiyaelarbkbkxngthharxngkvsaelaxxsetreliythipracakarxyuthinn bangklumedinthangipyngmlayaephuxekharwmkartxsu aetswnihythukcbtwid kxngthharkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiycamikickrrminekaabxreniywkarkhafnkhrngihyaelacudcbkhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiykarthiphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyetibotaelamibthbathinrthbalsukaronsrangkhwamkngwlihaekshrthaelamhaxanactawntkthitxtankhxmmiwnist ineduxnthnwakhm ph s 2507 phrrkhmurbaklawhawaphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyetriymkxkarrthprahar phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyeriykrxngihkhwabatrphrrkhmurba sungsukaronidthatamintnpi ph s 2508 inkarephchiyhnakbmaelesiy phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyeriykrxngihtidxawuthprachachnaetkxngthphephikechy ineduxnkrkdakhm phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyerimfukthhariklsnambinhalim inwnthi 8 knyayn phuprathwngsngkdphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyerimprathwngthisurabaya inwnthi 30 knyayn phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyidcdaerlliincakarta inkhunwnthi 30 knyaynaelaechawnthi 1 tulakhm ph s 2508 nayphlradbsungkhxngxinodniesiy 6 khnthuksnghar nayphlsuharotekhamamibthbathinkxngthph aelakxrthpraharinwnthi 2 tulakhm prakastxtankhxmmiwnist suharotbibihsukaronlaxxk aelakhunepnprathanathibdiaethnin ph s 2511 kartxtanphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyekidkhuninxinodniesiy sanknganihykhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythukepha klumkhxngxngkhkrmuslimxnsxridcdedinkhbwntxtanphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyinwnthi 13 tulakhm michawxinodniesiysamaesnthunglankhnthukkhainkarsngharkhrngihyhlngehtukarnni phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythukkhwabatrinwnthi 12 minakhm ph s 2509 shphaphkarkhathiniymphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythukkhwabatrineduxnemsaynhlngph s 2508phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyyngkhngxyuinchwngkarsngharhmu ph s 2508 2509 emuxixditaelaoyotthukkha sudismnkhunmaepnphunakxncathuksngharin ph s 2510 phrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyiptngmnthiblitarinchwatawnxxkcneduxnminakhm ph s 2511 cungthukocmti phunaruntxmakhux sukton rusln wiyayasstraaelaxiskndar suebktithukkha smachikphrrkhbangswnhniipsatharnrthprachachncin bangswnipyuorptawnxxk aelayngdaeninkickrrmthangkaremuxng aetthukoddediywcakkaremuxngphayinxinodniesiy prathanathibdiwahididechiychwnxditsmachikphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyklbsuxinodniesiyin ph s 2542 aelaepidkwangihkbaenwkhidkhxmmiwnist aetmiklumaenwrwmxislamxinodniesiyxxkmatxtankhxesnxkhxngwahidineduxnemsayn ph s 2543 in ph s 2547 xditsmachikphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiyyngthukkhunbychidainkarekhathangankbrthxangxingMortimer 1974 p19 Ricklefs 1982 p259 marxist com Sinaga 1960 p14 Reid Anthony 1973 The Indonesian National Revolution 1945 1950 Melbourne Longman Pty Ltd p 83 ISBN 0 582 71046 4 marxist org Indonesians Go to the Polls The Parties and their Stand on Constitutional Issues by Harold F Gosnell In Midwest Journal of Political Science May 1958 p 189 The Sukarno years 1950 to 1965 Harold Crouch 227 Asian News Digest 2000 1 18 279 and 1 19 295 296 aehlngkhnkhwaephimetimhnngsuxaelabthkhwam Crouch Harold 1978 The Army and Politics in Indonesia Ithaca New York Cornell University Press ISBN 0 8014 1155 6 Hunter Helen Louise 2007 Sukarno and the Indonesian coup the untold story Westport Conn Praeger Security International PSI reports Westport Conn ISBN 9780275974381 hbk ISBN 0275974383 hbk J L Holzgrefe Robert O Keohane Humanitarian Intervention Ethical Legal and Political Dilemmas Cambridge 2003 ISBN 0 521 52928 X S 47 Jochen Hippler Nasr Hamid Abu Zaid Amr Hamzawy Krieg Repression Terrorismus 2007 09 29 thi ewyaebkaemchchinPolitische Gewalt und Zivilisation in westlichen und muslimischen Gesellschaften ifa Stuttgart 2006 S 55 58 Review Mark Levene u Penny Roberts The Massacre in History 1999 ISBN 1 57181 935 5 S 247 251 Mortimer Rex 1974 Indonesian Communism Under Sukarno Ideology and Politics 1959 1965 Ithaca New York Cornell University Press ISBN 0 8014 0825 3 Ricklefs M C 1982 A History of Modern Indonesia London MacMillan ISBN 0 333 24380 3 Sinaga Edward Djanner 1960 Communism and the Communist Party in Indonesia MA Thesis George Washington University School of Government Robert Cribb The Indonesian Marxist tradition in C P Mackerras and N J Knight eds Marxism in Asia London Croom Helm 1985 pp 251 272 1 2020 08 01 thi ewyaebkaemchchin Roosa John 2006 Pretext for Mass Murder The September 30th Movement amp Suharto s Coup D etat Madison Wisconsin University of Wisconsin Press ISBN 978 0 299 22034 1 twngthiphy phrmekht 2563 D N Aidit thipa nusntara ixditkbphrrkhkhxmmiwnistinxinodniesiy krungethph Illuminations Editions twngthiphy phrmekht 2565 kwadlangihsinsak karemuxngxinodniesiy hnngsuxphimphfaykhwa aelakarsngharhmukhxmmiwnistrahwangpi 1965 1966 warsarprawtisastr mhawithyalysrinkhrinthrwiorth 47 n 74 95 ISSN 0125 1902ewbist People of Indonesia Unite and Fight to Overthrow the Fascist Regime Defence speech given by Sudisman in 1967 Shadow Play Information regarding the 1965 coup and subsequent persecution of the PKI The First Period of the Indonesian Communist Party PKI 1914 1926