พยาธิเส้นด้าย | |
---|---|
First stage larva (L1) of S. stercoralis | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Nematoda |
ชั้น: | |
อันดับ: | |
วงศ์: | Strongyloididae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | S. stercoralis |
ชื่อทวินาม | |
Strongyloides stercoralis Bavay, 1876 |
พยาธิเส้นด้าย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Strongyloides stercoralis) เป็นหนอนตัวกลมที่เป็นปรสิตก่อโรคในมนุษย์ ตัวเต็มวัยของพยาธิอาศัยอยู่ในชั้นเยื่อเมือกของลำไส้เล็ก ศัพท์ทางการแพทย์เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อพยาธิเส้นด้ายว่า Strongyloidiasis
วงจรชีวิต
วงจรชีวิตของพยาธิเส้นด้ายซับซ้อนกว่าพยาธิตัวกลมส่วนใหญ่ พยาธิเส้นด้ายสามารถออกลูกออกหลานและเพิ่มจำนวนในคนได้
ตัวอ่อนพยาธิในดินไชเข้าผิวหนัง ตัวอ่อนพยาธิบางตัวเข้าเส้นเลือดดำและผ่านไปในกระแสเลือดไปยังปอดและเข้าไปในถุงลม ต่อมาถูกไอและกลืนลงไปในทางเดินอาหาร กลายเป็นตัวเต็มวัยอยู่ในชั้นเยื่อเมือกของลำไส้เล็กและออกไข่ซึ่งฟักออกมาเป็นตัวอ่อน พยาธิเส้นด้ายจึงทำให้เกิดอาการทั้งระบบทางเดินอาหารและระบบหายใจ ตัวอ่อนพยาธิสามารถไชชั้นเยื่อเมือกของลำไส้เล็กหรือผิวหนังรอบรูทวารและทำให้เกิดการติดเชื้อซ้ำ โดยพยาธิผ่านไปทางเดิมคือไปปอด หลอดลม คอหอย และลำไส้เล็กซึ่งกลายเป็นตัวเต็มวัย พยาธิเส้นด้ายจึงสามารถเพิ่มจำนวนในคนได้เรื่อยๆ
อาการ
หลายคนที่ติดเชื้อไม่มีอาการในช่วงแรก อาการได้แก่ผิวหนังอักเสบ: บวม คัน เห็นรอยไชของพยาธิ และ เลือดออกเล็กน้อยบริเวณผิวหนังที่พยาธิไชเข้ามา ถ้าพยาธิไปถึงปอด อาจรู้สึกแสบร้อนที่หน้าอก และอาจมีเสียงหวีดและไอ รวมทั้งอาการคล้ายโรคปอดบวม () เมื่อพยาธิมาถึงและรุกรานลำไส้เล็กจะทำให้ปวดแสบปวดร้อน มีการทำลายเนื้อเยื่อ เกิดภาวะพิษเหตุติดเชื้อ และเกิดแผล อุจจาระอาจมีเมือกสีเหลืองและมีกลิ่นเฉพาะ อาจมีอาการท้องเสียเรื้อรังได้
การติดเชื้อจะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปในคนภูมิคุ้มกันดี แต่ในคนที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง พยาธิจะเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็วและแพร่กระจายทั่วร่างกายเนื่องจากพยาธิเส้นด้ายสามารถสืบพันธุ์และให้กำเนิดลูกหลานในมนุษย์ได้ ถ้าแพร่กระจายแล้วอัตราการเสียชีวิตสูงได้ถึง 90%
อ้างอิง
- Thamwiwat, Alisa; Mejia, Rojelio; Nutman, Thomas B.; Bates, Jeffrey T. (6 July 2014). "Strongyloidiasis as a Cause of Chronic Diarrhea, Identified Using Next-Generation Strongyloides stercoralis-Specific Immunoassays". Current Tropical Medicine Reports. 1 (3): 145–147. doi:10.1007/s40475-014-0026-7.
- Igra-Siegman, Y; Kapila, R; Sen, P; Kaminski, ZC; Louria, DB (1981). "Syndrome of hyperinfection with Strongyloides stercoralis". Reviews of Infectious Diseases. 3 (3): 397–407. doi:10.1093/clinids/3.3.397. PMID 7025145.
- Marcos, L. A.; Terashima, A.; Dupont, H. L.; Gotuzzo, E. (2008). "Strongyloides hyperinfection syndrome: An emerging global infectious disease". Transactions of the Royal Society of Tropical Medicine and Hygiene. 102 (4): 314–318. doi:10.1016/j.trstmh.2008.01.020. PMID 18321548.
- Newberry, AM; Williams, DN; Stauffer, WM; Boulware, DR; Hendel-Paterson, BR; Walker, PF (Nov 2005). "Strongyloides hyperinfection presenting as acute respiratory failure and gram-negative sepsis". Chest. 128 (5): 3681–4. doi:10.1378/chest.128.5.3681. PMC 1941746. PMID 16304332.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phyathiesndayFirst stage larva L1 of S stercoraliskarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Nematodachn xndb wngs Strongyloididaeskul spichis S stercoralischuxthwinamStrongyloides stercoralis Bavay 1876 phyathiesnday chuxwithyasastr Strongyloides stercoralis epnhnxntwklmthiepnprsitkxorkhinmnusy twetmwykhxngphyathixasyxyuinchneyuxemuxkkhxnglaiselk sphththangkaraephthyeriykorkhthiekidcakkartidechuxphyathiesndaywa Strongyloidiasiswngcrchiwitwngcrchiwitkhxngphyathiesndaysbsxnkwaphyathitwklmswnihy phyathiesndaysamarthxxklukxxkhlanaelaephimcanwninkhnid twxxnphyathiindinichekhaphiwhnng twxxnphyathibangtwekhaesneluxddaaelaphanipinkraaeseluxdipyngpxdaelaekhaipinthunglm txmathukixaelaklunlngipinthangedinxahar klayepntwetmwyxyuinchneyuxemuxkkhxnglaiselkaelaxxkikhsungfkxxkmaepntwxxn phyathiesndaycungthaihekidxakarthngrabbthangedinxaharaelarabbhayic twxxnphyathisamarthichchneyuxemuxkkhxnglaiselkhruxphiwhnngrxbruthwaraelathaihekidkartidechuxsa odyphyathiphanipthangedimkhuxippxd hlxdlm khxhxy aelalaiselksungklayepntwetmwy phyathiesndaycungsamarthephimcanwninkhnideruxyxakarhlaykhnthitidechuximmixakarinchwngaerk xakaridaekphiwhnngxkesb bwm khn ehnrxyichkhxngphyathi aela eluxdxxkelknxybriewnphiwhnngthiphyathiichekhama thaphyathiipthungpxd xacrusukaesbrxnthihnaxk aelaxacmiesiynghwidaelaix rwmthngxakarkhlayorkhpxdbwm emuxphyathimathungaelarukranlaiselkcathaihpwdaesbpwdrxn mikarthalayenuxeyux ekidphawaphisehtutidechux aelaekidaephl xuccaraxacmiemuxksiehluxngaelamiklinechphaa xacmixakarthxngesiyeruxrngid kartidechuxcaepnaebbkhxyepnkhxyipinkhnphumikhumkndi aetinkhnthiphumikhumknbkphrxng phyathicaephimcanwnxyangrwderwaelaaephrkracaythwrangkayenuxngcakphyathiesndaysamarthsubphnthuaelaihkaenidlukhlaninmnusyid thaaephrkracayaelwxtrakaresiychiwitsungidthung 90 xangxingThamwiwat Alisa Mejia Rojelio Nutman Thomas B Bates Jeffrey T 6 July 2014 Strongyloidiasis as a Cause of Chronic Diarrhea Identified Using Next Generation Strongyloides stercoralis Specific Immunoassays Current Tropical Medicine Reports 1 3 145 147 doi 10 1007 s40475 014 0026 7 Igra Siegman Y Kapila R Sen P Kaminski ZC Louria DB 1981 Syndrome of hyperinfection with Strongyloides stercoralis Reviews of Infectious Diseases 3 3 397 407 doi 10 1093 clinids 3 3 397 PMID 7025145 Marcos L A Terashima A Dupont H L Gotuzzo E 2008 Strongyloides hyperinfection syndrome An emerging global infectious disease Transactions of the Royal Society of Tropical Medicine and Hygiene 102 4 314 318 doi 10 1016 j trstmh 2008 01 020 PMID 18321548 Newberry AM Williams DN Stauffer WM Boulware DR Hendel Paterson BR Walker PF Nov 2005 Strongyloides hyperinfection presenting as acute respiratory failure and gram negative sepsis Chest 128 5 3681 4 doi 10 1378 chest 128 5 3681 PMC 1941746 PMID 16304332