เมฆฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ (interplanetary dust cloud) หรือ ฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ (interplanetary dust) คือฝุ่นคอสมิกภายในระบบสุริยะ เป็นสมาชิกที่มีขนาดเล็กที่สุดของวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ
คำจำกัดความที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมาธิการสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) เกี่ยวกับดาวตก อุกกาบาต และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2017 ได้ระบุว่า ฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ เป็นสสารของแข็งที่แตกละเอียดโดยทั่วไปมีขนาดเล็กกว่าอุกกาบาต (ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 ไมโครเมตร ถึง 1 เมตร) จากข้อเท็จจริงเชิงสังเกตการณ์ อาจคิดได้ว่าจุดกำเนิดของฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์นั้นไม่ได้อยู่ในช่วงการก่อตัวของระบบสุริยะ แต่เกิดในช่วง 100 ล้านปีที่ผ่านมา โดยเกิดจากการชนกันระหว่างดาวเคราะห์น้อย ถูกปล่อยออกจากดาวหาง และการชนระหว่างวัตถุท้องฟ้าชั้นนอกด้วยกันเอง หรือวัตถุท้องฟ้าชั้นนอกชนกับฝุ่นระหว่างดวงดาว
ฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ยังทำให้เกิดแสงจักรราศี ที่สามารถมองเห็นได้ในท้องฟ้าด้านทิศตะวันตกหลังพระอาทิตย์ตกดินหรือในท้องฟ้าด้านทิศตะวันออกก่อนพระอาทิตย์ขึ้น โดยจะเห็นได้ชัดในพื้นที่ที่มืดมิดมีบรรยากาศปลอดโปร่งและไม่มีแสงประดิษฐ์หรือแสงจันทร์ ดังนั้นจึงมีอีกชื่อเรียกว่า เมฆจักรราศี (zodiacal cloud)
การเคลื่อนที่ของฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ไม่เพียงแต่ได้รับผลกระทบจากความโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์เท่านั้น แต่ยังได้รับผลกระทบจากความดันรังสีของดวงอาทิตย์ด้วย แรงโน้มถ่วงจะแปรตามปริมาตร (หรือที่จริงคือแปรตามมวล) ในขณะที่ความดันรังสีจะเป็นสัดส่วนกับพื้นที่หน้าตัด เนื่องจากความดันรังสีของดวงอาทิตย์กับกำลังสองของระยะห่าง จากดวงอาทิตย์ ผลกระทบที่ปรากฏจึงเหมือนกับการทำให้แรงโน้มถ่วงจากดวงอาทิตย์อ่อนลง ดังนั้นฝุ่นที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วตามกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ในแรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์จะมีความเร็วสูงเกินไป และถูกผลักออกไปด้านนอก ด้วยเหตุนี้ อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 1 ไมโครเมตรจึงถูกขับออกจากระบบสุริยะในเวลาอันสั้นเมื่อเทียบกับอายุของระบบสุริยะ
สำหรับฝุ่นที่มีขนาดใหญ่กว่านี้ โดยทั่วไปจะมีขนาด 10 ถึง 100 ไมโครเมตร ผลกระทบอื่นจะมีความสำคัญ ฝุ่นไม่เพียงแต่สะท้อนแสงอาทิตย์เท่านั้น แต่ยังดูดกลืนและแผ่รังสีออกมาอีกด้วย ในกระบวนการดูดกลืนและแผ่รังสีแสงอาทิตย์อีกครั้งโดยฝุ่นที่เคลื่อนที่ตามกฎของเค็พเพลอร์ในดวงอาทิตย์ ความคลาดของแสงจะส่งผลให้มีการหน่วงในทิศทางการเคลื่อนที่ (ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ) ผลก็คือทำให้สูญเสียโมเมนตัมเชิงมุม ผลที่ตามมาก็คือ ฝุ่นจะตกลงมาในวิถีแบบเป็นเกลียวหมุนเข้าหาดวงอาทิตย์ (ปรากฏการณ์พอยน์ติง–รอเบิร์ตสัน) ด้วยเหตุนี้ ฝุ่นที่เกิดขึ้นในแถบดาวเคราะห์น้อยจึงจะหายไปภายใน 10 ล้านปี
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "False Dawn". www.eso.org. สืบค้นเมื่อ 14 February 2017.
- "惑星間ダスト". 天文学辞典. . 2018-03-10. สืบค้นเมื่อ 2019-06-04.
- "Definitions of terms in meteor astronomy" (PDF). 流星・隕石・惑星間塵委員会. 国際天文学連合. 2017. สืบค้นเมื่อ 2019-06-04.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
emkhfunrahwangdawekhraah interplanetary dust cloud hrux funrahwangdawekhraah interplanetary dust khuxfunkhxsmikphayinrabbsuriya epnsmachikthimikhnadelkthisudkhxngwtthukhnadelkinrabbsuriyaemkhfunrahwangdawekhraahthithuksxngswangcnpraktepnaesngckrrasi khacakdkhwamthiidrbkarrbrxngcakkhnakrrmathikarshphnthdarasastrsakl IAU ekiywkbdawtk xukkabat aelafunrahwangdawekhraahemuxwnthi 30 emsayn 2017 idrabuwa funrahwangdawekhraah epnssarkhxngaekhngthiaetklaexiydodythwipmikhnadelkkwaxukkabat sungmiesnphansunyklang 30 imokhremtr thung 1 emtr cakkhxethccringechingsngektkarn xackhididwacudkaenidkhxngfunrahwangdawekhraahnnimidxyuinchwngkarkxtwkhxngrabbsuriya aetekidinchwng 100 lanpithiphanma odyekidcakkarchnknrahwangdawekhraahnxy thukplxyxxkcakdawhang aelakarchnrahwangwtthuthxngfachnnxkdwyknexng hruxwtthuthxngfachnnxkchnkbfunrahwangdwngdaw funrahwangdawekhraahyngthaihekidaesngckrrasi thisamarthmxngehnidinthxngfadanthistawntkhlngphraxathitytkdinhruxinthxngfadanthistawnxxkkxnphraxathitykhun odycaehnidchdinphunthithimudmidmibrryakasplxdoprngaelaimmiaesngpradisthhruxaesngcnthr dngnncungmixikchuxeriykwa emkhckrrasi zodiacal cloud karekhluxnthikhxngfunrahwangdawekhraahimephiyngaetidrbphlkrathbcakkhwamonmthwngkhxngdwngxathityethann aetyngidrbphlkrathbcakkhwamdnrngsikhxngdwngxathitydwy aerngonmthwngcaaeprtamprimatr hruxthicringkhuxaeprtammwl inkhnathikhwamdnrngsicaepnsdswnkbphunthihnatd enuxngcakkhwamdnrngsikhxngdwngxathitykbkalngsxngkhxngrayahang cakdwngxathity phlkrathbthipraktcungehmuxnkbkarthaihaerngonmthwngcakdwngxathityxxnlng dngnnfunthiekhluxnthidwykhwamerwtamkdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhphephlxrinaerngonmthwngkhxngdwngxathitycamikhwamerwsungekinip aelathukphlkxxkipdannxk dwyehtuni xnuphakhfunthimikhnadelkkwa 1 imokhremtrcungthukkhbxxkcakrabbsuriyainewlaxnsnemuxethiybkbxayukhxngrabbsuriya sahrbfunthimikhnadihykwani odythwipcamikhnad 10 thung 100 imokhremtr phlkrathbxuncamikhwamsakhy funimephiyngaetsathxnaesngxathityethann aetyngdudklunaelaaephrngsixxkmaxikdwy inkrabwnkardudklunaelaaephrngsiaesngxathityxikkhrngodyfunthiekhluxnthitamkdkhxngekhphephlxrindwngxathity khwamkhladkhxngaesngcasngphlihmikarhnwnginthisthangkarekhluxnthi sungsamarthxthibayiddwythvsdismphththphaphphiess phlkkhuxthaihsuyesiyomemntmechingmum phlthitammakkhux funcatklngmainwithiaebbepnekliywhmunekhahadwngxathity praktkarnphxynting rxebirtsn dwyehtuni funthiekidkhuninaethbdawekhraahnxycungcahayipphayin 10 lanpiduephimfunckrrasinxkrabb canrxbdawvks canrxbdawekhraah funkhxsmik mwlsarrahwangdawekhraahxangxing False Dawn www eso org subkhnemux 14 February 2017 惑星間ダスト 天文学辞典 2018 03 10 subkhnemux 2019 06 04 Definitions of terms in meteor astronomy PDF 流星 隕石 惑星間塵委員会 国際天文学連合 2017 subkhnemux 2019 06 04