ผู้ใช้ ของระบบ หมายถึงบุคคลที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบกับระบบ เพื่อทำให้เกิด หรือเพื่อใช้การทำงานให้เป็นประโยชน์
ชนิดของผู้ใช้
ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของระบบมักจะเรียกว่า หรือผู้ปฏิบัติการ (operater, op) ส่วนผู้ใช้ที่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับระบบแต่ไม่ได้ดำเนินการบางครั้งเรียกว่า (audience)
ตัวอย่างเช่น เมื่อคนขับรถ (ผู้ดำเนินการของรถยนต์) บีบแตรเพื่อเตือนคนเดินถนน ดังนั้นคนขับรถคือผู้ดำเนินการของการบีบแตร และคนเดินถนนคือผู้ชมของการบีบแตร
อีกตัวอย่างหนึ่งเช่น ผู้ใช้หลายประเภทใน หรือในการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นผู้ดำเนินการโฆษณาข้อความ ดังนั้นผู้ชมของการโฆษณาก็คือผู้ที่อ่านข้อความนั้น เป็นต้น
คำที่เกี่ยวข้อง
ผู้ใช้ของระบบมีความหมายแตกต่างจาก กล่าวคือ ผู้ใช้ในทางคอมพิวเตอร์หมายถึงส่วนหนึ่งของซอฟต์แวร์เรียกว่า ตัวแทน (agent) ซึ่งจำเป็นต้องใช้งานอีกส่วนหนึ่งของซอฟต์แวร์เพื่อการดำเนินการ ศัพท์ดังกล่าวเป็นการดำเนินการทางคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งนำไปใช้ในกิจกรรมประจำวันต่าง ๆ (ทางคอมพิวเตอร์) ของมนุษย์
ผู้ใช้ของระบบมีความหมายเดียวกับ (end user) ซึ่งเป็นคำที่แนะนำโดยนักพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อแยกแยะ "ผู้ใช้ที่ไม่สมเหตุสมผล" ออกจากกลุ่มของพวกเขา
ในมุมมองด้านผลิตภัณฑ์ ลูกค้าของระบบไม่เหมือนกับผู้ใช้ของระบบ กล่าวคือ มักจะเป็นองค์การและผู้ใช้ก็จะหมายถึงลูกจ้างขององค์การนั้น สิ่งนี้สามารถบอกเป็นนัยได้ว่า ในกรณีที่เกิดความสูญเสียอย่างมีนัยสำคัญเนื่องจาก ลูกค้าจะสืบค้นว่าผู้ใช้คนใดจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความสูญเสียนั้น
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-04-25. สืบค้นเมื่อ 2012-01-10.
- Gerald Weinberg (1971). The psychology of computer programming
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phuich khxngrabb hmaythungbukhkhlthimiptikiriyaottxbkbrabb ephuxthaihekid hruxephuxichkarthanganihepnpraoychnchnidkhxngphuichphuichthimisiththiepliynaeplngphvtikrrmkhxngrabbmkcaeriykwa hruxphuptibtikar operater op swnphuichthicaepntxngekiywkhxngkbrabbaetimiddaeninkarbangkhrngeriykwa audience twxyangechn emuxkhnkhbrth phudaeninkarkhxngrthynt bibaetrephuxetuxnkhnedinthnn dngnnkhnkhbrthkhuxphudaeninkarkhxngkarbibaetr aelakhnedinthnnkhuxphuchmkhxngkarbibaetr xiktwxyanghnungechn phuichhlaypraephthin hruxinkarphanichyxielkthrxniks epnphudaeninkarokhsnakhxkhwam dngnnphuchmkhxngkarokhsnakkhuxphuthixankhxkhwamnn epntnkhathiekiywkhxngphuichkhxngrabbmikhwamhmayaetktangcak klawkhux phuichinthangkhxmphiwetxrhmaythungswnhnungkhxngsxftaewreriykwa twaethn agent sungcaepntxngichnganxikswnhnungkhxngsxftaewrephuxkardaeninkar sphthdngklawepnkardaeninkarthangkhxmphiwetxrthwip sungnaipichinkickrrmpracawntang thangkhxmphiwetxr khxngmnusy phuichkhxngrabbmikhwamhmayediywkb end user sungepnkhathiaenanaodynkphthnasxftaewr ephuxaeykaeya phuichthiimsmehtusmphl xxkcakklumkhxngphwkekha inmummxngdanphlitphnth lukkhakhxngrabbimehmuxnkbphuichkhxngrabb klawkhux mkcaepnxngkhkaraelaphuichkcahmaythunglukcangkhxngxngkhkarnn singnisamarthbxkepnnyidwa inkrnithiekidkhwamsuyesiyxyangminysakhyenuxngcak lukkhacasubkhnwaphuichkhnidcaepnphurbphidchxbtxkhwamsuyesiynnxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 04 25 subkhnemux 2012 01 10 Gerald Weinberg 1971 The psychology of computer programming