ในสาธารณรัฐโรมัน ผู้เผด็จการ คือ "แมจิสเทรตวิสามัญ" (magistratus extraordinarius) โดยมีอำนาจเด็ดขาดในการดำเนินภาระนอกเหนือจากแมจิสเทรตสามัญ (magistratus ordinarius) ตำแหน่งผู้เผด็จการเป็นการประดิษฐ์กฎหมายที่เดิมชื่อ Magister Populi (นายประชาชน) คือ นายแห่งกองทัพพลเมือง คำนี้มาจากคำว่า dicto หมายถึง สั่งการ
วุฒิสภาโรมันผ่านกฤษฎีกาวุฒิสภา (senatus consultum) อนุญาตกงสุลให้เสนอชื่อผู้เผด็จการ ซึ่งเป็นข้อยกเว้นเดียวของหลักมีผู้ดำรงตำแหน่งเดียวกันหลายคน (collegiality) และความรับผิดชอบ (ความรับผิดทางกฎหมายสำหรับการกระทำในตำแหน่ง) ตามกฎหมายโรมัน มีผู้ได้รับแต่งตั้งคนเดียว และเป็นแมจิสเทรตสูงสุด ไม่มีความรับผิดทางกฎหมายสำหรับการกระทำในตำแหน่ง มีลิกเตอร์ (องครักษ์) 24 คนรับใช้ อนุญาตให้มีผู้เผด็จการได้คนเดียว เนื่องจากมีอำนาจสิทธิ์ขาดใหญ่ (imperium magnum) ซึ่งสามารถลบล้าง ปลดหรือประหารชีวิตคุรูเลแมจิสเทรต (curule magistrate) ซึ่งถืออำนาจสิทธิ์ขาดได้
มีผู้เผด็จการหลายแบบแตกต่างกันตามสาเหตุการสถาปนา รูปแบบที่พบบ่อยที่สุด และที่สัมพัน์กับผู้เผด็จการโรมันมากที่สุด คือ rei gerundae causa "เพื่อจัดการปัญหา" ซึ่งแทบทุกครั้งเกี่ยวข้องกับการนำกองทัพเข้าสู่สมรภูมิและเจาะจงข้าศึกให้รบ มีผู้เผด็จการอย่างน้อยหนึ่งคนได้รับกำหนดให้เป็น seditionis sedandae et rei gerundae causa "เพื่อกำราบการกบฏและจัดการปัญหา" ผู้เผด็จการยังได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ปกครองหรือทางศาสนา เช่น จัดการเลือกตั้ง (omitiorum habendorum causa เป็นรูปแบบผู้เผด็จการที่พบบ่อยที่สุดเป็นอันดับสอง) หรือการตอกตะปูเข้าเทวสถานจูปิเตอร์อ็อปติมัสแม็กซิมัสเพื่อยุติโรคติดต่อร้ายแรง (clavi figendi causa)
โรมันเลิกตั้งผู้เผด็จการหลังยุคสงครามพิวนิกครั้งที่สอง มีการฟื้นฟูตำแหน่งระหว่างโดยลูเซียส คอร์นีเลียส ซุลลา เฟลิกซ์ จูเลียส ซีซาร์ยังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้เผด็จการในหลายโอกาส จักรพรรดิโรมันเลี่ยงการใช้ยศดังกล่าวเพื่อเลี่ยงคำตำหนิที่ตามมาซึ่งเป็นผลของผู้เผด็จการสองคนหลังสุดนี้
อ้างอิง
- Oxford Companion to Classical Civilization (1998) Hornblower and Spawforth, eds.:Oxford p.219.
- , The Constitution of the Roman Republic (Oxford University Press, 1999), p. 110 online. Moreover, the perception that the dictator was a maximus (supreme praetor) apparently results from confusion about a fragmentary , and a passage in Livy, that imply that, on one occasion, the title-holder acted as dictator; see Lintott, Constitution p. 104, especially note 47.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insatharnrthormn phuephdckar khux aemcisethrtwisamy magistratus extraordinarius odymixanaceddkhadinkardaeninpharanxkehnuxcakaemcisethrtsamy magistratus ordinarius taaehnngphuephdckarepnkarpradisthkdhmaythiedimchux Magister Populi nayprachachn khux nayaehngkxngthphphlemuxng khanimacakkhawa dicto hmaythung sngkar wuthisphaormnphankvsdikawuthispha senatus consultum xnuyatkngsulihesnxchuxphuephdckar sungepnkhxykewnediywkhxnghlkmiphudarngtaaehnngediywknhlaykhn collegiality aelakhwamrbphidchxb khwamrbphidthangkdhmaysahrbkarkrathaintaaehnng tamkdhmayormn miphuidrbaetngtngkhnediyw aelaepnaemcisethrtsungsud immikhwamrbphidthangkdhmaysahrbkarkrathaintaaehnng miliketxr xngkhrks 24 khnrbich xnuyatihmiphuephdckaridkhnediyw enuxngcakmixanacsiththikhadihy imperium magnum sungsamarthlblang pldhruxpraharchiwitkhuruelaemcisethrt curule magistrate sungthuxxanacsiththikhadid miphuephdckarhlayaebbaetktangkntamsaehtukarsthapna rupaebbthiphbbxythisud aelathismphnkbphuephdckarormnmakthisud khux rei gerundae causa ephuxcdkarpyha sungaethbthukkhrngekiywkhxngkbkarnakxngthphekhasusmrphumiaelaecaacngkhasukihrb miphuephdckarxyangnxyhnungkhnidrbkahndihepn seditionis sedandae et rei gerundae causa ephuxkarabkarkbtaelacdkarpyha phuephdckaryngidrbaetngtngihthahnathipkkhrxnghruxthangsasna echn cdkareluxktng omitiorum habendorum causa epnrupaebbphuephdckarthiphbbxythisudepnxndbsxng hruxkartxktapuekhaethwsthancupietxrxxptimsaemksimsephuxyutiorkhtidtxrayaerng clavi figendi causa ormneliktngphuephdckarhlngyukhsngkhramphiwnikkhrngthisxng mikarfunfutaaehnngrahwangodyluesiys khxrnieliys sulla efliks cueliys sisaryngidrbaetngtngepnphuephdckarinhlayoxkas ckrphrrdiormneliyngkarichysdngklawephuxeliyngkhatahnithitammasungepnphlkhxngphuephdckarsxngkhnhlngsudnixangxingOxford Companion to Classical Civilization 1998 Hornblower and Spawforth eds Oxford p 219 The Constitution of the Roman Republic Oxford University Press 1999 p 110 online Moreover the perception that the dictator was a maximus supreme praetor apparently results from confusion about a fragmentary and a passage in Livy that imply that on one occasion the title holder acted as dictator see Lintott Constitution p 104 especially note 47