ป้อมดาว (อังกฤษ: Star fort หรือ trace italienne) คือระบบป้อมปราการที่วิวัฒนาการขึ้นระหว่างสมัยที่การใช้ดินปืนในการต่อสู้โดยการใช้ปืนใหญ่ที่เริ่มแพร่หลายมากขึ้น ที่เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 ในอิตาลี รูปทรงป้อมที่สร้างกันในยุคกลางไม่สามารถทนทานต่อการถูกโจมตีด้วยปืนใหญ่ได้ แรงระเบิดของปืนใหญ่สามารถทำลายกำแพงดิ่งได้อย่างง่ายดาย ขณะที่ป้อมดาวใช้กำแพงราบและเป็นโครงสร้างที่ใช้ระบบมุขป้อม (bastion) สามเหลี่ยม ที่ยื่นซ้อนกันออกมาซ้อนกันเป็นชั้นๆ ที่เป็นการช่วยป้องกันซึ่งกันและกัน และคูรอบป้อม ต่อมาป้อมดาวก็วิวัฒนาการมาใช้โครงสร้างเช่น (ravelin), การสร้างเสริมส่วนบนของกำแพง (crownwork) และเพิ่มป้อมที่เป็นอิสระจากตัวป้อมหลัก เพื่อเพิ่มความซับซ้อนให้แก่โครงสร้างเพิ่มขึ้น
ป้อมดาววิวัฒนาการต่อมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นการตอบโต้การรุกรานของฝรั่งเศสในคาบสมุทรอิตาลี ฝ่ายฝรั่งเศสมีอาวุธปืนใหญ่แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพพอที่จะทำลายป้อมปราการที่สร้างตามแบบโบราณในยุคกลางได้อย่างง่ายดาย เพื่อเป็นการโต้ตอบความรุนแรงของการทำลายของอาวุธใหม่กำแพงป้องกันก็ถูกสร้างให้เตี้ยลงแต่หนาขึ้น ตัวกำแพงสร้างด้วยวัสดุการก่อสร้างหลายอย่างแต่มักจะเป็นดินและอิฐ เพราะอิฐจะไม่แตกกระจายเมื่อถูกโจมตีโดยปืนใหญ่เช่นหิน องค์ประกอบที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ในการก่อสร้างป้อมดาวคือการใช้มุขป้อมที่กลายมาเป็นลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของป้อมปราการแบบใหม่ การวิวัฒนาการมาเป็นรูปดาวที่บางครั้งก็จะซ้อนกันหลายชั้นทำให้สามารถต้านทานจากการถูกโจมตีโดยปืนใหญ่ได้
ไมเคิล แอนเจโลใช้ลักษณะป้อมดาวในการออกแบบแนวป้องกันที่ทำด้วยดิน (defensive earthworks) ของฟลอเรนซ์ ที่มาได้รับการปรับปรุงในคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดย (Baldassare Peruzzi) และ (Vincenzo Scamozzi)
ป้อมดาวเผยแพร่จากอิตาลีในคริสต์ทศวรรษ 1530 และ 1540 และใช้กันมากในทวีปยุโรปเป็นเวลาราวสามร้อยปีหลังจากนั้น สถาปนิก/วิศวกรอิตาเลียนเป็นที่ต้องการตัวไปทั่วยุโรปในการสร้างป้อมแบบใหม่นี้
ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 (Menno van Coehoorn) และเซบาสเตียง เลอ เพรส์เทรอ เดอ โวบองผู้เป็นสถาปนิกทางสถาปัตยกรรมทางทหารในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ยิ่งยกลักษณะการออกแบบป้อมดาวขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการทุกสิ่งทุกอย่าง จนทำให้กลายเป็นระบบการป้องกันอันซับซ้อนเท่าที่สามารถทำกันได้
ระบบป้อมรูปดาววิวัฒนาการมาจากการวางผังเมืองของเมืองในอุดมคติของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา: “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาถูกสะกดด้วยผังเมืองแบบหนึ่งเป็นเวลาร้อยห้าสิบปี—ตั้งแต่ฟิลาเรเตจนถึงสคามอซซิ—ที่ต่างก็มีความประทับใจในแผนอันเป็นอุดมคติ: รูปร่างของเมืองที่ว่านี้คือรูปดาว”
ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 การวิวัฒนาการลูกระเบิดแบบใหม่ที่มีพลังสูงขึ้นแบบที่เรียกว่า ทำให้สถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการต้องเปลี่ยนแปลงไปอีกครั้งหนึ่ง
ที่มา
ก่อนหน้าการสร้างป้อมดาว ป้อมในยุคกลางมักจะตั้งอยู่บนเนินสูง จากป้อมผู้ป้องกันป้อมสามารถยิงธนูลงมายังข้าศึกได้ ปราสาทยิ่งสูงเท่าใดรัศมีของการยิงก็ยิ่งกว้างไกลขึ้น ทางเดียวที่ข้าศึกจะยึดที่มั่นได้ก็ด้วยการพังประตูหน้าหรือปีนกำแพงด้วยบันได ป้อมลักษณะนี้ยากต่อการยึดโดยผู้โจมตีป้อม ฉะนั้นการสร้างป้อมประเภทนี้จึงสร้างตามจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ
เมื่อการโจมตีป้อมวิวัฒนาการมาเป็นการใช้ปืนใหญ่ในการโจมตีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 วิศวกรทางยุทธศาสตร์ก็ตอบโต้โดยการสร้างกำแพงในคูและกันด้วยกำแพงดินลาดเพื่อจะได้ไม่ถูกทำลายด้วยปืนใหญ่ที่ยิงมาโดยตรง และเพื่อให้กำแพงที่ตอนบนเป็นดินช่วยรับกำลังปะทะของระเบิดที่ทำให้แรงการทำลายลดลง และเมื่อทำได้เช่นที่ (Fort Manoel) ในมอลตา “คู” ก็ขุดเข้าไปในผาหิน และ “กำแพง” ด้านในของคูก็เป็นหินธรรมชาติ แต่เมื่อกำแพงยิ่งเตี้ยลงก็ยิ่งเป็นการง่ายขึ้นต่อการโจมตี
จุดอ่อนอีกอย่างหนึ่งคือป้อมทรงกลมที่นิยมสร้างกันในยุคกลางและหอเล็ก เป็นการทำให้เกิด “จุดบอด” (dead zone) ซึ่งเป็นจุดที่ค่อนข้างปลอดจากการยิงป้องกันเพราะผู้ยิงไม่สามารถจะยิงอ้อมกำแพงโค้งจากอีกด้านหนึ่งของกำแพงได้ เพื่อที่จะแก้ปัญหานี้หอที่เคยเป็นทรงสี่เหลี่ยมหรือกลมก็เปลี่ยนไปเป็นแบบรูปข้าวหลามตัดยื่นออกไปเพื่อไม่ให้ผู้โจมตีปราสาทมีที่หลบได้ คูและกำแพงก็ออกแบบที่ทำให้ตล่อมกองทัพของผู้โจมตีให้เข้ามาในบริเวณที่ต้องการและทำให้การโจมตีโดยปืนใหญ่สร้างความวุ่นวายให้แก่ผู้ที่จะพยายามปีนกำแพงด้วย การออกแบบมีจุดประสงค์ที่จะไม่ไห้ผู้โจมตีมีที่หลบภัยจากการต่อต้านได้
อ้างอิง
- "The Oxford History of Modern War", Charles Townshend
- Siegfried Giedion, Space, Time and Architecture (1941) 1962 p 43.
ดูเพิ่ม
ระเบียงภาพ
- ผังป้อมพาลมาโนวา
ในพิพิธภัณฑ์ที่เวนิส - ตารางระบบป้อมจากสารานุกรม ค.ศ. 1728
- ตารางระบบป้อมจากสารานุกรม ค.ศ. 1728
- ผังป้อม (ค.ศ. 1757)
ในสาธารณรัฐเช็ก - เมืองเนิร์ฟบริซาคในฝรั่งเศสที่ตั้งอยู่ภายในป้อมดาว
- ป้อม Suomenlinna
ในฟินแลนด์ - ป้อมดาวที่
เดนมาร์ก - ภาพการล้อมเมืองเกรินโลในเนเธอร์แลนด์
ในปี ค.ศ. 1606 - เมืองนาร์เดนใน
เนเธอร์แลนด์ - เมืองวิลเล็มชตัดใน
เนเธอร์แลนด์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha pxmdaw xngkvs Star fort hrux trace italienne khuxrabbpxmprakarthiwiwthnakarkhunrahwangsmythikarichdinpuninkartxsuodykarichpunihythierimaephrhlaymakkhun thierimsrangepnkhrngaerkrawklangkhriststwrrsthi 15 inxitali rupthrngpxmthisrangkninyukhklangimsamarththnthantxkarthukocmtidwypunihyid aerngraebidkhxngpunihysamarththalaykaaephngdingidxyangngayday khnathipxmdawichkaaephngrabaelaepnokhrngsrangthiichrabbmukhpxm bastion samehliym thiyunsxnknxxkmasxnknepnchn thiepnkarchwypxngknsungknaelakn aelakhurxbpxm txmapxmdawkwiwthnakarmaichokhrngsrangechn ravelin karsrangesrimswnbnkhxngkaaephng crownwork aelaephimpxmthiepnxisracaktwpxmhlk ephuxephimkhwamsbsxnihaekokhrngsrangephimkhunpxm Bourtange okrnningekn enethxraelnd burnaihehmuxninpi kh s 1750 pxmdawwiwthnakartxmainplaykhriststwrrsthi 15 aelatnkhriststwrrsthi 16 ephuxepnkartxbotkarrukrankhxngfrngessinkhabsmuthrxitali fayfrngessmixawuthpunihyaebbihmthimiprasiththiphaphphxthicathalaypxmprakarthisrangtamaebbobraninyukhklangidxyangngayday ephuxepnkarottxbkhwamrunaerngkhxngkarthalaykhxngxawuthihmkaaephngpxngknkthuksrangihetiylngaethnakhun twkaaephngsrangdwywsdukarkxsranghlayxyangaetmkcaepndinaelaxith ephraaxithcaimaetkkracayemuxthukocmtiodypunihyechnhin xngkhprakxbthisakhyxikxyanghnungthiichinkarkxsrangpxmdawkhuxkarichmukhpxmthiklaymaepnlksnathiepnexklksnkhxngpxmprakaraebbihm karwiwthnakarmaepnrupdawthibangkhrngkcasxnknhlaychnthaihsamarthtanthancakkarthukocmtiodypunihyid imekhil aexnecolichlksnapxmdawinkarxxkaebbaenwpxngknthithadwydin defensive earthworks khxngflxerns thimaidrbkarprbprunginkhriststwrrsthi 16 ody Baldassare Peruzzi aela Vincenzo Scamozzi pxmdawephyaephrcakxitaliinkhristthswrrs 1530 aela 1540 aelaichknmakinthwipyuorpepnewlarawsamrxypihlngcaknn sthapnik wiswkrxitaeliynepnthitxngkartwipthwyuorpinkarsrangpxmaebbihmni inplaykhriststwrrsthi 17 Menno van Coehoorn aelaesbasetiyng elx ephrsethrx edx owbxngphuepnsthapnikthangsthaptykrrmthangthharinphraecahluysthi 14 aehngfrngess yingyklksnakarxxkaebbpxmdawkhunipxikkhnhnung thiprakxbdwyxngkhprakxbkhxngsthaptykrrmkarkxsrangpxmprakarthuksingthukxyang cnthaihklayepnrabbkarpxngknxnsbsxnethathisamarththaknid rabbpxmrupdawwiwthnakarmacakkarwangphngemuxngkhxngemuxnginxudmkhtikhxngyukhfunfusilpwithya yukhfunfusilpwithyathuksakddwyphngemuxngaebbhnungepnewlarxyhasibpi tngaetfilaeretcnthungskhamxssi thitangkmikhwamprathbicinaephnxnepnxudmkhti ruprangkhxngemuxngthiwanikhuxrupdaw inkhriststwrrsthi 10 karwiwthnakarlukraebidaebbihmthimiphlngsungkhunaebbthieriykwa thaihsthaptykrrmkarkxsrangpxmprakartxngepliynaeplngipxikkhrnghnungthimarabbpxmkhxng plan of Coevorden thiepnthrnghlayehliymthikracayxxkipcaksunyklang odymikarkxsrangrabbkaaephngdinxnhnaaenndannxkthisrangihminkhriststwrrsthi 17 ody Maurice of Nassau Prince of Orange kxnhnakarsrangpxmdaw pxminyukhklangmkcatngxyubneninsung cakpxmphupxngknpxmsamarthyingthnulngmayngkhasukid prasathyingsungethaidrsmikhxngkaryingkyingkwangiklkhun thangediywthikhasukcayudthimnidkdwykarphngpratuhnahruxpinkaaephngdwybnid pxmlksnaniyaktxkaryudodyphuocmtipxm channkarsrangpxmpraephthnicungsrangtamcudyuththsastrthisakhy emuxkarocmtipxmwiwthnakarmaepnkarichpunihyinkarocmtiinkhriststwrrsthi 15 wiswkrthangyuththsastrktxbotodykarsrangkaaephnginkhuaelakndwykaaephngdinladephuxcaidimthukthalaydwypunihythiyingmaodytrng aelaephuxihkaaephngthitxnbnepndinchwyrbkalngpathakhxngraebidthithaihaerngkarthalayldlng aelaemuxthaidechnthi Fort Manoel inmxlta khu kkhudekhaipinphahin aela kaaephng daninkhxngkhukepnhinthrrmchati aetemuxkaaephngyingetiylngkyingepnkarngaykhuntxkarocmti cudxxnxikxyanghnungkhuxpxmthrngklmthiniymsrangkninyukhklangaelahxelk epnkarthaihekid cudbxd dead zone sungepncudthikhxnkhangplxdcakkaryingpxngknephraaphuyingimsamarthcayingxxmkaaephngokhngcakxikdanhnungkhxngkaaephngid ephuxthicaaekpyhanihxthiekhyepnthrngsiehliymhruxklmkepliynipepnaebbrupkhawhlamtdyunxxkipephuximihphuocmtiprasathmithihlbid khuaelakaaephngkxxkaebbthithaihtlxmkxngthphkhxngphuocmtiihekhamainbriewnthitxngkaraelathaihkarocmtiodypunihysrangkhwamwunwayihaekphuthicaphyayampinkaaephngdwy karxxkaebbmicudprasngkhthicaimihphuocmtimithihlbphycakkartxtanidxangxing The Oxford History of Modern War Charles Townshend Siegfried Giedion Space Time and Architecture 1941 1962 p 43 duephimprasath rabbpxmprakar mukhpxmraebiyngphaphphngpxmphalmaonwa inphiphithphnththiewnis tarangrabbpxmcaksaranukrm kh s 1728 tarangrabbpxmcaksaranukrm kh s 1728 phngpxm kh s 1757 insatharnrthechk emuxngenirfbrisakhinfrngessthitngxyuphayinpxmdaw pxm Suomenlinna infinaelnd pxmdawthi ednmark phaphkarlxmemuxngekrinolinenethxraelnd inpi kh s 1606 emuxngnarednin enethxraelnd emuxngwilelmchtdin enethxraelnd bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk