ปลาบู่มหิดล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Mahidolia mystacina) เป็นปลาบู่ที่พบในประเทศไทยเป็นครั้งแรกที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2475 โดย ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ และได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ในฐานะที่ได้ทรงอุปถัมภ์ และพระราชทานทุนสำหรับส่งนักเรียนไปศึกษาต่อด้านการประมงในต่างประเทศ และทรงได้รับถวายสมัญญานามว่า "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำของไทย"
ปลาบู่มหิดล | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง |
ชั้น: | ปลาที่มีก้านครีบ |
อันดับ: | |
วงศ์: | วงศ์ปลาบู่ H. M. Smith, 1932 |
สกุล: | Mahidolia (, 1837) |
สปีชีส์: | Mahidolia mystacina |
ชื่อทวินาม | |
Mahidolia mystacina (, 1837) | |
ชื่อพ้อง | |
สกุล
ชนิด
|
ประวัติ
ในราวปี พ.ศ. 2469 ซึ่งเป็นช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้มีการจัดตั้งกรมรักษาสัตว์น้ำขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ โดยมีชาวอเมริกันชื่อ ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ (Hugh McCormick Smith) เข้ามาปฏิบัติงานด้านการเพาะเลี้ยงและการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในประเทศไทย ในตำแหน่งเจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำคนแรก
ผลงานในหน้าที่รับผิดชอบของฮิว แมคคอร์มิค สมิธ ที่เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์น้ำของไทยโดยเฉพาะพันธุ์ปลา มีรวมกว่า 60 เรื่อง อีกทั้งยังได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์สำหรับปลาที่ค้นพบใหม่รวม 67 ชนิด เป็นสกุลใหม่รวม 21 สกุลในจำนวนนี้ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ปลาบู่ โดยให้ชื่อสกุลว่า Mahidolia เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ในการที่พระองค์ทรงสนพระทัย ทรงใคร่ติดตาม และเปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณต่อการประมงของประเทศไทย พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สำหรับคนไทย เพื่อที่จะได้มาทำงานด้านการประมงต่อจาก ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยง และการอนุรักษ์พันธุ์ปลา
จนถึงปัจจุบัน ปลาบู่มหิดลนับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Mahidolia
เนื้อหา
ปลาบู่มหิดล ค้นพบเป็นครั้งแรกในรั้วไซมาน ณ ปากแม่น้ำจันทบุรี ในเขตพื้นที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี และปัจจุบันได้รับการคุ้มครองได้ในลำดับที่ 49 โดยระบุปลาบู่มหิดลทุกชนิดในสกุล Mahidolia ตามบัญชีท้ายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ที่ได้รับธรณีพิบัติ จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดสตูล พ.ศ. 2549 ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2549 โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น เพราะปลาบู่มหิดลนอกจากจะค้นพบที่จังหวัดจันทบุรีแล้ว ยังค้นพบที่จังหวัดระนองและจังหวัดภูเก็ตอีกด้วย
สถานการณ์ปลาบู่มหิดล
ปลาบู่มหิดลเป็นปลาขนาดเล็กที่หาได้ยาก ไม่สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้ง ในปัจจุบันป่าชายเลนเสื่อมโทรม อันเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจด้านต่าง ๆ เช่น การปล่อยน้ำทิ้ง และของเสียจากแหล่งชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และการเลี้ยงกุ้งทะเล เป็นต้น นอกจากนี้แหล่งน้ำต่าง ๆ เกือบตลอดแขนงชายฝั่งทะเลมีสภาพเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะตื้นเขิน เนื่องจากมี (soil erosion) บนพื้นที่ดินจากการประกอบกิจกรรมดังกล่าวแล้ว รวมทั้งการทำประมงที่ใช้เครื่องมือประจำที่ประเภทกางกั้นจำพวก เป็นต้น ซึ่งมีผลกระทบต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงของแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีผลต่อความเสื่อมโทรมของพันธุ์สัตว์น้ำสำคัญ ๆ อย่างปลาบู่มหิดล ที่มีให้พบเห็นได้ไม่บ่อยนัก อาจเป็นผลให้ปลาชนิดนี้สูญพันธุ์ได้ในอนาคต
ลักษณะสำคัญของปลาบู่มหิดล
ปลาบู่มหิดลมีลักษณะเด่น คือ หัวค่อนข้างโต และแบนข้างมาก ปากกว้างจนมีกระดูขากรรไกรที่ยื่นไปทางข้างเลยขอบหลังตา ฟันมีขนาดเล็ก และมีแถวเดียวที่ขากรรไกรบน แต่มีหลายแถวที่ขากรรไกรล่าง ลำตัวสั้น ไม่มีเกล็ดบนหัว และบนฝาเหงือกมีเกล็ดค่อนข้างใหญ่
ถิ่นอาศัยของปลาบู่มหิดล
ปลาบู่มหิดลชอบอาศัยในบริเวณปากแม่น้ำ และป่าชายเลนที่สภาพเป็นอ่าว พื้นทะเลเป็นโคลนปนทราย มักพบเสมอว่า ปลาชนิดนี้มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่กับกุ้งดีดขัน (Alpheas spp.) โดยกุ้งเป็นผู้สร้างรูเป็นที่อาศัยร่วมกันกับปลา และปลาเป็นผู้ทำความสะอาดภายในรู
แผนที่การกระจายของปลาบู่มหิดล
มีการพบปลาบู่มหิดลกระจายอยู่ในหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะประเทศไทย อินโดนีเซีย และไต้หวัน ในส่วนของแหล่งที่พบปลาบู่มหิดลในประเทศไทย จากแหล่งข้อมูลเดียวกัน พบว่า แหล่งที่พบปลาบู่ คือ ชายฝั่งจังหวัดจันทบุรี จังหวัดระนอง และจังหวัดภูเก็ต
กิจกรรมเกี่ยวกับปลาบู่มหิดล
เทศบาลตำบลปากน้ำแหลมสิงห์ โดยความร่วมมือจาก "โครงการจัดตั้งศูนย์การศึกษานิเวศวิทยาแหล่งที่พบปลาบู่มหิดล" (นำโดย ดร.ศุภกฤต โสภิกุล, ดร.ทนง ทองภูเบศร์ และคณะทำงาน) ภายใต้การดำเนินการของบุคลากรประกอบด้วย อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาในคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดทำศูนย์การเรียนรู้เรื่อง "ปลาบู่มหิดล" ขึ้นในพื้นที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี โครงการดังกล่าวมีรูปแบบเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เกี่ยวกับมิติทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการฟื้นฟูระบบนิเวศวิทยาพื้นที่แหล่งกำเนิดปลาบู่มหิดล ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย
อ้างอิง
- Larson, H. (2016). "Mahidolia mystacina". . 2016: e.T192982A2180744. doi:10.2305/IUCN.UK.2016-3.RLTS.T192982A2180744.en.
- ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า 261 - 262
- พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ “พระราชบิดาแห่งการแพทย์ไทย” 2004-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สกุลไทย ฉบับที่ 2554 ปีที่ 49 ประจำวัน อังคาร ที่ 30 กันยายน 2546
- ลือชัย ดรุณชู. (2536). การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาบู่มหิดลในแม่น้ำจันทบุรี. กรมประมง. หน้า 4.
- http://www.vcharkarn.com/varticle/59035
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-04. สืบค้นเมื่อ 2011-04-12.
- ทศพร วงศ์รัตน์. (2534). ปลาบู่มหิดล, วารสารการประมง, ปีที่ 44 ฉบับที่ 4 หน้า 295-313.
- นายวิทยา โสภิกุล อดีตประมงอำเภอแหลมสิงห์
- ลือชัย ดรุณชู. (2536). การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาบู่มหิดลในแม่น้ำจันทบุรี. กรมประมง. หน้า 7-23.
- Smith, H.M. 1945. The Fresh-Water Fishes of Siam, or Thailand. United States Government Printing office, Washington. 512-525
- The Journal of the Siam Society. 1933. Natural History Supplement. Bangkok. 255-262 pp.
- สุด แสงวิเชียร. (2531). “ปลาบู่มหิดล บทความพิเศษ” โรงพยาบาลศิริราช ปีที่ 40 เล่ม 9 เดือนกันยายน. หน้า 659 – 666.
- Froese, R. and D. Pauly. Editors (2006) - FishBase, World Wide Web electronic publication. www.fishbase.org, version (01/2006). Map generated on Sunday, October 1st, 2006, 8:45 pm. http://www.practicalfishkeeping.co.uk/pfk/pages/map.php?species_id=1159735557#[], (2009). Retrieved on 26 Feb 2009.
- ศุภกฤต โสภิกุล. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายการจัดตั้งเครือข่ายสหวิทยาการแห่งราชบัณฑิตยสถาน ภาคตะวันออก (โครงการนำร่องการจัดทำเขตอนุรักษ์ปลาบู่มหิดลในแหลมสิงห์). ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร.
- อีกทั้งฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: Vulnerable (VU) ประเภทปลา
แหล่งข้อมูลอื่น
- Mahidolia mystacina @ fishesofaustralia.net.au
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plabumhidl chuxwithyasastr Mahidolia mystacina epnplabuthiphbinpraethsithyepnkhrngaerkthixaephxaehlmsingh cnghwdcnthburi emux ph s 2475 ody dr hiw aemkhkhxrmikh smith aelaidtngchuxwithyasastrtamphranamkhxngsmedcphramhitlathiebsr xdulyedchwikrm phrabrmrachchnk ephuxepnkarethidphraekiyrti aelasanukinphramhakrunathikhunkhxngphraxngkh inthanathiidthrngxupthmph aelaphrarachthanthunsahrbsngnkeriynipsuksatxdankarpramngintangpraeths aelathrngidrbthwaysmyyanamwa phraprathipaehngkarxnurksthrphyakrstwnakhxngithy plabumhidlsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm stwmiaeknsnhlngchn plathimikankhribxndb wngs wngsplabu H M Smith 1932skul Mahidolia 1837 spichis Mahidolia mystacinachuxthwinamMahidolia mystacina 1837 chuxphxngskul Rictugobius Koumans 1932 chnid Gobius mystacinus Valenciennes 1837 Waitea mystacina Valenciennes 1837 Gobius pulverulentus Kuhl amp van Hasselt 1837 Mahidiolia normani H M Smith amp Koumans 1932 Mahidiolia duque J L B Smith 1947 Waitea buchanani Visweswara Rao 1972prawtiinrawpi ph s 2469 sungepnchwngrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw rchkalthi 6 idmikarcdtngkrmrksastwnakhuninkrathrwngekstrathikar odymichawxemriknchux dr hiw aemkhkhxrmikh smith Hugh McCormick Smith ekhamaptibtingandankarephaaeliyngaelakarxnurksphnthustwnainpraethsithy intaaehnngecakrmrksastwnakhnaerk phlnganinhnathirbphidchxbkhxnghiw aemkhkhxrmikh smith thiekiywkbthrphyakrstwnakhxngithyodyechphaaphnthupla mirwmkwa 60 eruxng xikthngyngidtngchuxwithyasastrsahrbplathikhnphbihmrwm 67 chnid epnskulihmrwm 21 skulincanwnniidtngchuxwithyasastrplabu odyihchuxskulwa Mahidolia ephuxepnkarethidphraekiyrtiaelasanukinphramhakrunathikhunkhxngsmedcphramhitlathiebsr xdulyedchwikrm phrabrmrachchnk sungkhnannthrngdarngphraysepnsmedcphraecaphiyaethx ecafamhidlxdulyedch krmhlwngsngkhlankhrinthr inkarthiphraxngkhthrngsnphrathy thrngikhrtidtam aelaepiymdwyphramhakrunathikhuntxkarpramngkhxngpraethsithy phraxngkhidphrarachthanthunthrphyswnphraxngkhsahrbkhnithy ephuxthicaidmathangandankarpramngtxcak dr hiw aemkhkhxrmikh smith odyechphaakarephaaeliyng aelakarxnurksphnthupla cnthungpccubn plabumhidlnbepnsingmichiwitephiyngchnidediywethannthixyuinskul Mahidoliaenuxhaphaphwadkhnathiyngichchuxwithyasastrwa Waitea mystacina plabumhidl khnphbepnkhrngaerkinrwisman n pakaemnacnthburi inekhtphunthixaephxaehlmsingh cnghwdcnthburi aelapccubnidrbkarkhumkhrxngidinladbthi 49 odyrabuplabumhidlthukchnidinskul Mahidolia tambychithayprakaskrathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm eruxng kahndekhtphunthiaelamatrkarkhumkhrxngsingaewdlxm inbriewnphunthithiidrbthrniphibti cnghwdranxng cnghwdkrabi cnghwdtrng cnghwdphngnga cnghwdphuekt aelacnghwdstul ph s 2549 sungprakas n wnthi 10 emsayn ph s 2549 ody rthmntriwakarkrathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxminkhnann ephraaplabumhidlnxkcakcakhnphbthicnghwdcnthburiaelw yngkhnphbthicnghwdranxngaelacnghwdphuektxikdwy sthankarnplabumhidl plabumhidlepnplakhnadelkthihaidyak imsamarthphbehnidbxykhrng inpccubnpachayelnesuxmothrm xnenuxngmacakkarphthnaesrsthkicdantang echn karplxynathing aelakhxngesiycakaehlngchumchn orngnganxutsahkrrm aelakareliyngkungthael epntn nxkcakniaehlngnatang ekuxbtlxdaekhnngchayfngthaelmisphaphepliynaeplngipinlksnatunekhin enuxngcakmi soil erosion bnphunthidincakkarprakxbkickrrmdngklawaelw rwmthngkarthapramngthiichekhruxngmuxpracathipraephthkangkncaphwk epntn sungmiphlkrathbtxsphawakhwamepliynaeplngkhxngaehlngthixyuxasy sungmiphltxkhwamesuxmothrmkhxngphnthustwnasakhy xyangplabumhidl thimiihphbehnidimbxynk xacepnphlihplachnidnisuyphnthuidinxnakht lksnasakhykhxngplabumhidl plabumhidlmilksnaedn khux hwkhxnkhangot aelaaebnkhangmak pakkwangcnmikradukhakrrikrthiyunipthangkhangelykhxbhlngta fnmikhnadelk aelamiaethwediywthikhakrrikrbn aetmihlayaethwthikhakrrikrlang latwsn immiekldbnhw aelabnfaehnguxkmiekldkhxnkhangihy thinxasykhxngplabumhidl plabumhidlchxbxasyinbriewnpakaemna aelapachayelnthisphaphepnxaw phunthaelepnokhlnpnthray mkphbesmxwa plachnidnimiphvtikrrmmkxasyxyukbkungdidkhn Alpheas spp odykungepnphusrangruepnthixasyrwmknkbpla aelaplaepnphuthakhwamsaxadphayinruaephnthikarkracaykhxngplabumhidlkarkracaykhxngplabumhidl mikarphbplabumhidlkracayxyuinhlaypraethsinphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit odyechphaapraethsithy xinodniesiy aelaithwn inswnkhxngaehlngthiphbplabumhidlinpraethsithy cakaehlngkhxmulediywkn phbwa aehlngthiphbplabu khux chayfngcnghwdcnthburi cnghwdranxng aelacnghwdphuektkickrrmekiywkbplabumhidlethsbaltablpaknaaehlmsingh odykhwamrwmmuxcak okhrngkarcdtngsunykarsuksaniewswithyaaehlngthiphbplabumhidl naody dr suphkvt osphikul dr thnng thxngphuebsr aelakhnathangan phayitkardaeninkarkhxngbukhlakrprakxbdwy xacary ecahnathi aelanksuksainkhnasngkhmsastraelamnusysastr mhawithyalymhidl idcdthasunykareriynrueruxng plabumhidl khuninphunthixaephxaehlmsingh cnghwdcnthburi okhrngkardngklawmirupaebbepnsunyklangkareriynruekiywkbmitithangdansngkhmaelasingaewdlxm rwmthngkarfunfurabbniewswithyaphunthiaehlngkaenidplabumhidl thankhxmulchnidphnthuthithukkhukkhaminpraethsithyxangxingLarson H 2016 Mahidolia mystacina 2016 e T192982A2180744 doi 10 2305 IUCN UK 2016 3 RLTS T192982A2180744 en 100 pi smedcphramhitlathiebsr xdulyedchwikrm phrabrmrachchnk hna 261 262 phrarachprawtiaelaphrarachkrniykic phrarachbidaaehngkaraephthyithy 2004 03 12 thi ewyaebkaemchchin skulithy chbbthi 2554 pithi 49 pracawn xngkhar thi 30 knyayn 2546 luxchy drunchu 2536 karsuksachiwwithyabangprakarkhxngplabumhidlinaemnacnthburi krmpramng hna 4 http www vcharkarn com varticle 59035 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 07 04 subkhnemux 2011 04 12 thsphr wngsrtn 2534 plabumhidl warsarkarpramng pithi 44 chbbthi 4 hna 295 313 naywithya osphikul xditpramngxaephxaehlmsingh luxchy drunchu 2536 karsuksachiwwithyabangprakarkhxngplabumhidlinaemnacnthburi krmpramng hna 7 23 Smith H M 1945 The Fresh Water Fishes of Siam or Thailand United States Government Printing office Washington 512 525 The Journal of the Siam Society 1933 Natural History Supplement Bangkok 255 262 pp sud aesngwiechiyr 2531 plabumhidl bthkhwamphiess orngphyabalsirirach pithi 40 elm 9 eduxnknyayn hna 659 666 Froese R and D Pauly Editors 2006 FishBase World Wide Web electronic publication www fishbase org version 01 2006 Map generated on Sunday October 1st 2006 8 45 pm http www practicalfishkeeping co uk pfk pages map php species id 1159735557 lingkesiy 2009 Retrieved on 26 Feb 2009 suphkvt osphikul 2552 exksarprakxbkarbrryaykarcdtngekhruxkhayshwithyakaraehngrachbnthitysthan phakhtawnxxk okhrngkarnarxngkarcdthaekhtxnurksplabumhidlinaehlmsingh rachbnthitysthan krungethphmhankhr xikthngthankhxmulchnidphnthuthithukkhukkhaminpraethsithy 2015 09 30 thi ewyaebkaemchchin Vulnerable VU praephthplaaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb plabumhidl Mahidolia mystacina fishesofaustralia net auwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb plabumhidl