ปลาทะเลลึก (อังกฤษ: deep sea fish) คือปลาที่อาศัยอยู่ในทะเลลึกที่มืดมิดและแสงแดดส่องไม่ถึง (ลึกกว่าเขตมีแสง) ปลาทะเลลึกที่พบมากที่สุดคือปลาตะเกียง นอกจากนี้ยังมีปลาทะเลลึกชนิดอื่นมากมาย เช่น ปลาฉลามคุกกี้คัตเตอร์ ปลาตกเบ็ด ปลาไวเปอร์
จากการสำรวจมีเพียง 2% จากสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตในทะเลทั้งหมดเท่านั้นที่เรารู้จัก หมายความว่าพวกมันอาศัยอยู่ใน ต่างจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในหรือบนก้นทะเล โดยทั่วไปจะพบสิ่งมีชีวิตทะเลลึกในเขต (ระดับความลึก 1,000–4,000 เมตร) และ (ระดับความลึก 4,000–6,000 เมตร) อย่างไรก็ตามปลาทะเลลึกอย่าง ปลาที่เรืองแสงได้สามารถพบได้ในด้วย (ระดับความลึก 200–1,000 เมตร)
- เป็นห้วงน้ำที่มีความอับแสง แต่ยังสามารถวัดปริมาณแสงได้เล็กน้อย ระดับความลึกที่มีออกซิเจนน้อยมากจะอยู่ที่ระดับ 700–1,000 เมตร แต่ก็ขึ้นอยู่กับสถานที่นั้นด้วยว่ามีแหล่งผลิตออกซิเจนหรือไม่ ท้องทะเลลึกปานกลางยังเป็นพื้นที่ ๆ อาหารยังอุดมสมบูรณ์
- และเป็นห้วงน้ำที่ หรือก็คือไม่สามารถวัดปริมาณแสงได้เลย ห้วงน้ำเหล่านี้คิดเป็น 75% ของพื้นที่อาศัยอยู่ได้ในมหาสมุทร
(ระดับความลึก 0–200 เมตร) เป็นห้วงน้ำที่มีแสงมากทำให้เกิดการสังเคราะห์แสง จึงเรียกได้ว่าเป็นเขตมีแสง แสงสามารถทะลุผ่านความลึกของมหาสมุทรได้เพียงไม่กี่ร้อยเมตร ทำให้ปริมาตรน้ำกว่า 90% ของมหาสมุทรเป็นพื้นที่ ๆ มืดมิด ทะเลลึกเป็นพื้นที่ ๆ มีสภาพที่สุดขั้วมาก เพราะน้ำมีความเย็น 3 °ซ. ถึง -1.8 °ซ. (ยกเว้นบริเวณปล่องแบบน้ำร้อน ที่น้ำอาจมีอุณหภูมิสูงถึง 350 °ซ.) ออกซิเจนต่ำ อีกทั้งยังมีแรงกดดันของน้ำจำนวนมหาศาลขนาดความดันระหว่าง 20 ถึง 1,000 บรรยากาศ (ระหว่าง 2 ถึง 100 เมกะปาสคาล)
ลักษณะทั่วไป
ปลาทะเลลึกนั้นมีรูปร่างเหมือนสัตว์ประหลาดพบเห็นได้ยากแต่ก็มีความน่าสนใจเพราะมีนิทานหลายเรื่องที่กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดปกติมากมายและยังไม่ได้รับการศึกษาในสมัยนั้นเนื่องจากพวกมันอยู่ในทะเลลึกที่มืดมิดซึ่งอาจจะพบได้แค่ตอนเกยตื้นหรือซากศพของพวกมัน ปลาทะเลลึกโดยทั่วไปนั้นจะพึ่งพาความรู้สึกมากกว่าการมองเห็นเนื่องจากแสงสว่างใต้ทะเลลึกนั้นมีไม่มากพอจึงไม่สามารถพึ่งพาการมองเห็นในการล่าเหยื่อหรือหลีกหนีการไล่ล่าได้ มันจะพึ่งพาการเปลี่ยนแปลงความดันและกลิ่นแทน แต่ถึงอย่างนั้นปลาบางชนิดมีตาที่ไวต่อแสงกว่ามนุษย์ถึง 100 เท่า นอกจากนี้มันยังมีสีที่เข้มเพื่อหลีกหนีการล่าของวาฬและนักล่าอื่น ๆ อีกด้วย
ปลาทะเลลึกหลายชนิดเป็นสารเรืองแสงที่มีดวงตาที่ใหญ่มากเหมาะกับความมืด ปลาที่เรืองแสงมีความสามารถในการผลิตแสงทางชีวภาพผ่านการกระเจิงของโมเลกุลของลูซิเพอลีน (luciferin) ซึ่งทำให้เกิดแสง โดยกระบวนการนี้ต้องใช้ออกซิเจนด้วย ปลาเรืองแสงมากกว่า 50% ส่วนมากอยู่ตรงบริเวณไหล่ทวีปที่ระดับความลึกประมาณ 200 เมตรและ 80% ของกุ้งและปลาหมึกก็มีความสามารถในการเรืองแสงด้วยเช่นกัน อวัยวะเรืองแสง (photophores) ซึ่งผลิดมาจากเซลล์ที่มีแบคทีเรีย อวัยวะเรืองแสงเหล่านี้มีเซลล์ที่คล้ายกับเลนส์ที่เหมือนกับที่อยู่ในดวงตาของมนุษย์เพื่อใช้ในการทำให้แสงกระจายตัวอีกด้วย การเรืองแสงเหล่านี้ใช้พลังงานเพียง 1% ของพลังงานทั้งหมดแต่มีจุดประสงค์มากมายเช่นใช้ค้นหาอาหาร, สื่อสาร, หาคู่ผสมพันธุ์และดึงดูดเหยื่อเช่นปลาตกเบ็ดนอกจากนี้พวกมันยังลวงตานักล่าด้วยการปรับแสงให้ตรงกับความเข้มข้มของแสงจากด้านบนได้อีกด้วย
วงจรชีวิตของปลาทะเลน้ำลึกส่วนใหญ่จะเป็นไข่และตัวอ่อนตรงน้ำตื้นและลงน้ำลึกเมื่อโตเต็มวัย โดยไข่อาจจะลอยเป็นแพลงค์ตอนหรือวางไว้ในหลุมก็ได้แล้วแต่ชนิดของปลาเมื่อพวกมันโตเต็มที่พวกมันจะมีการดัดแปลงร่างกายเนื่องจากความหนาแน่นของน้ำทำให้ตัวพวกมันนั้นลอยน้ำได้จึงต้องเพิ่มความหนาแน่นของตัวมันให้มากกว่าน้ำรอบ ๆ ด้วยการทำให้เนื้อเยื่อส่วนมีลักษณะเป็นเนื้อเหลว ๆ เหมือวุ้นเพื่อสร้างสมดุลสิ่งมีชีวิตส่วนมากใต้ทะเลพัฒนาถุงลมของพวกมัน แต่เนื่องจากความดันที่สูงมากของสภาพแวดล้อมนี้ปลาทะเลลึกจึงมักจะไม่ได้มีอวัยวะนี้ แต่ถึงอย่างนั้นปลาทะเลลึกที่อยู่ลึกมาก ๆ นั้นจะมีกล้ามเนื้อที่เหมือนวุ้นและมีโครงสร้างกระดูกน้อยเพราะพวกมันลดความหนาแน่นของเนื้อเยื่อโดยเพิ่มไขมันให้สูงขึ้นและลดน้ำหนักโครงกระดูกลงเพื่อลดขนาดความหนาและปริมาณแร่และการสะสมน้ำจึงทำให้พวกมันช้าและคล่องตัวน้อยกว่าปลาบนผิวน้ำ
เนื่องจากความลึกนี้ทำให้การสังเคราะห์แสงน้อยทำให้ทะเลลึกปลาส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาการจมของซากศพและสารอินทรีย์จากทะเลด้านบน แต่บางที่พวกมันก็มีแหล่งอาหารอยู่เช่นบริเวณปล่องแบบน้ำร้อนแต่ถึงอย่างนั้นทะเลลึกนี้ก็เป็นสถานที่ ๆ หาอาหารได้ยาก ดังนั้นพวกมันจึงมีการปรับตัวเพื่อให้ดำรงชีวิตได้ง่ายขึ้นเช่นยืดหดขากรรไกรได้เช่นปลาฉลามก็อบลิน มี่ติ่งเนื้อเรืองแสงที่คล้ายเบ็ดตกปลาเช่นปลาตกเบ็ด มีปากที่ใหญ่เช่นปลาไหลกัลเปอร์และมีกระเพาะขนาดใหญ่เช่นปลาแบล็คสวอลโล
ปลาที่อยู่ในทะเลน้ำลึกมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดทางโครงสร้างทางกายภาพและพฤติกรรมซึ่งเกิดจากโซนที่อยู่อาศัยการอพยพการล่าและอื่น ๆ นั้นเองครีบก้นและครีบหางเป็นของที่หาได้ยากในหมู่ปลาทะเลน้ำลึกซึ่งแสดงให้เห็นว่าปลาทะเลน้ำลึกมีความเก่าแก่และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของมันได้ดีทำให้การรุกรานของปลาชนิดอื่น ๆ นั้นไม่ประสบความสำเร็จครีบส่วนใหญ่จะเป็นแบบปลาโบราณ ปลาทะเลลึกคงรูปร่างเดิมตั้งแต่อดีตจึงเป็นแบบอย่างของวิวัฒนาการที่ยาวนานในอดีตเมื่อหลายร้อนล้านปีที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี ซึ่งต่างจากปลาผิวบนและปลาน้ำจืดที่มีการวิวัฒนาการเรื่อยมา
สถานะปัจจุบัน
ปัจจุบันเรารู้จักปลาทะเลลึกเพียง 2% จากสายพันธุ์ปลาทะเลทั้งหมดเนื่องจากพวกมันสามารถพบเห็นและจับมาศึกษาได้ยากทำให้ได้ศึกษาเพียงซากศพที่ถูกกระแสน้ำพัดพามาเกยตื้น ส่วนที่นักวิทยาศาสตร์สามารถจับได้ก็อาศัยอยู่ได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงก็จะตายลงเนื่องจากปลาทะเลลึกส่วนใหญ่ที่มีการพัฒนาในสภาพแวดล้อมที่มีแรงดันมหาศาลและนี้ทำให้พวกมันไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพห้องปฏิบัติการและด้วยความพยายามที่จะเก็บพวกมันไว้ในกรงขังนั้นจะทำให้พวกมันตายเพราะสิ่งมีชีวิตในทะเลลึกมีช่องว่างที่เต็มไปด้วยแก๊ส vacuoles ซึ่งก๊าซนั้นจะถูกบีบอัดภายใต้แรงดันสูงและจะขยายตัวภายใต้แรงดันต่ำ ด้วยเหตุนี้เองทำให้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกระเบิดหากพวกมันขึ้นมาสู่ผิวน้ำ
แหล่งที่อยู่อาศัย
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สรีรวิทยา
การที่ทะเลลึกไม่มีแสงแดด, แรงกดดันมหาศาล, อุณหภูมิต่ำ, ออกซิเจนมีไม่มาก และความหนาแน่นต่ำ อินทรียวัตถุทั้งหมดนี่มีผลกับลักษณะทางสิ่งแวดล้อมของปลาทะเลลึกจึงได้มีการปรับตัวหลายอย่างดังนี้
กล้ามเนื้อและกระดูก
น้ำหนักของโครงกระดูกและโปรตีนที่มีอยู่ในร่างกายของปลามักจะเป็นสิ่งที่สำคัญมากในน้ำเค็ม แต่เนื่องจากใต้ทะเลนั้นขาดแคลนอาหารจึงต้องทำให้ประหยัดพลังงานมากที่สุด ดังนั้นจึงทำให้ความหนาแน่นของกล้ามเนื้อและกระดูกของปลาทะเลลึกนั้นที่มีขนาดเล็กลงแต่ก็มีการทดแทนโดยที่ร่างกายของปลาทะเลลึกนั้นมีน้ำและไขมันจำนวนมากจึงทำให้พวกมันพยุงตัวได้ดี เงี่ยงและครีบของปลาทะเลลึกมีน้ำหนักเบา แต่การที่กล้ามเนื้อมีน้ำและไขมันเยอะจึงทำให้กล้ามเนื้อของปลามีลักษณะคล้ายวุ้นซึ่งจะทำให้การเคลื่อนที่ของมันช้าลงไปด้วย
ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนมากปลาทะเลลึกจะมีปากขนาดใหญ่และกระเพาะขนาดใหญ่เนื่องจากทะเลลึกนั้นเป็นสถานที่ที่ขาดแคลนอาหาร ยิ่งลึกก็ยิ่งหาเหยื่อยากจึงทำให้ปลาทะเลลึกนั้นจับทุกอย่างที่พวกมันพบถึงแม้ว่าเหยื่อจะมีขนาดใหญ่เพื่อจะไม่ต้องใช้พลังงานมากเกินไปในการแสวงหาเหยื่อรายต่อไปเช่นปลาไหลกัลเปอร์ที่มีปากขนาดใหญ่และปลาแบล็คสวอลโลที่มีกระเพาะขนาดใหญ่
การปรับเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพ
ปลาทะเลลึกนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลลักษณะทางกายภาพของตัวมันเองเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่มันอาศัยอยู่เช่นการมีดวงตาที่ใหญ่โต่ขึ้นเนื่องจากใช้เพื่อประสิทธิภาพในการรับแสงในใต้ทะเลอันมืดมิด
การมองเห็น
ทะเลลึกนั้นไม่มีแสงสว่างส่องผ่านลงไปถึงจึงทำให้ปลาทะเลลึกบางชนิดนั้นมีการปรับตัว 2 รูปแบบคือทำให้ดวงตาใหญ่กว่าปกติเพื่อเพิ่มการรับแสง กับอีกบางชนิดนั้นเป็นปลาที่ตาบอด
การเรืองแสง
ปลาที่อาศัยอยู่ในความมืดของทะเลลึกนั้นมีสปีชีส์ 65% จากการสุ่มตรวจนั้นสามารถที่จะเรืองแสงได้โดนจะมีอวัยวะเรืองแสงซึ่งสร้างขึ้นโดยปฏิกิริยาทางเคมีของแสงหรือมีการใช้แบคทีเรีย โดยอวัยวะเรืองแสงเหล่านี้จะมีหน้าที่ต่างกันออกไปตามชนิดของปลาและสภาพแวดล้อม เช่นใช้หาคู่หรือเอาไว้ใช้ล่อเหยื่อ
การให้กำเนิด
เนื่องจากความหนาแน่นของประชากรที่ต่ำจึงทำให้ความน่าจะเป็นของการที่เพศชายและหญิงมาเจอกันเป็นไปได้ยากจึงทำให้เพศชายมีการเปลี่ยนแปลงร่างกายของตัวเองให้เล็กลงและทำตัวเองให้ติดไปกับเพศเมียเมื่อเจอกันจากนั้นจะค่อย ๆ รวมกันแล้วรับสารอาหารจากกระแสเลือดของเพศเมียเหมือเป็นปรสิตและรวมกันจนเหลือแต่อวัยวะสืบพันธุ์เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์
การประมงทะเลลึก
การทำประมงทะเลลึกของไทยยังไม่ได้มีการพัฒนามากเท่าที่ควรเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ มีเพียงการร่วมมือกับต่างประเทศในการจับปลาทูน่าเท่านั้น
รายชื่อปลาทะเลลึก
ปลาใกล้สูญพันธุ์
จากการศึกษาใน พ.ศ. 2549 ของนักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดานั้นได้พบปลาทะเลลึกได้แก่ ปลา blue hake และปลา spiny eel ที่จะสูญพันธุ์เนื่องจากการตกปลาในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่บริเวณไหล่ทวีป-ก้นสมุทรที่ระดับความลึกประมาณ 1,600 เมตร เนื่องการสืบพันธุ์ของปลาเหล่านี้ช้าและมีวัยเจริญพันธุ์ในอายุที่เท่า ๆ กันกับมนุษย์จึงทำให้นี่เป็นหนึ่งในเหตุผลหลักที่พวกมันไม่สามารถฟื้นตัวได้จากการประมงที่มากเกินไปของมนุษย์
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Trujillo, Alan P.; Harold V. Thurman (2011). Essentials of Oceanography 10th ed. Boston: Prentice Hall. p. 354. ISBN .
- Trujillo, Alan P.; Harold V. Thurman (2011). Essentials of Oceanography 10th ed. Boston: Prentice Hall. p. 365. ISBN .
- Trujillo, Alan P.; Harold V. Thurman (2011). Essentials of Oceanography 10th ed. Boston: Prentice Hall. pp. 457, 460. ISBN .
- Trujillo, Alan P.; Harold V. Thurman (2011). Essentials of Oceanography 10th ed. Boston: Prentice Hall. p. 415. ISBN .
- Trujillo, Alan P.; Harold V. Thurman (2011). Essentials of Oceanography 10th ed. Boston: Prentice Hall. pp. 414–415. ISBN .
- Randall, David J.; Anthony Peter Farrell (1997). Deep-sea Fishes. San Diego: Academic. p. 217. ISBN .
- Randall, David J.; Anthony Peter Farrell (1997). Deep-sea Fishes. San Diego: Academic. p. 195. ISBN .
- Randall, David J.; Anthony Peter Farrell (1997). Deep-sea Fishes. San Diego: Academic. pp. 196, 225. ISBN .
- Moyle and Cech, 2004, p. 591
- Haedrich RL (1996) "Deep-water fishes: evolution and adaptation in the earth's largest living spaces" เก็บถาวร 2012-10-17 ที่ Journal of Fish Biology 49(sA):40-53.
- Moyle and Cech, 2004, page 586
- Compagno, L.J.V. (1984). Sharks of the World: An Annotated and Illustrated Catalogue of Shark Species Known to Date. Food and Agricultural Organization of the United Nations. pp. 14–15. ISBN .
- Wharton, David A. (2007-07-23). (vacuoles) &source=bl&ots=sC3ScXZ-Bf&sig=X7oTxFYOAAZEDP9UgygFO6LUmwQ&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwjK-f2Q7-zRAhXDKWMKHSzXBY4Q6AEIIjAC#v=onepage&q=Deep-sea%20organisms%20contain%20gas-filled%20spaces%20 (vacuoles) &f=false Life at the Limits: Organisms in Extreme Environments (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN .
{{}}
: ตรวจสอบค่า|url=
((help)) - Wharton, David. (2002). Life at the Limits: Organisms in Extreme Environments. Cambridge, UK: Cambridge UP. p. 199. ISBN .
- Ryan P "Deep-sea creatures: The bathypelagic zone" Te Ara - the Encyclopedia of New Zealand. Updated 21 September 2007.
- Froese, Rainer and Pauly, Daniel, eds. (2010). "Chauliodus sloani" in . April 2010 version.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plathaelluk xngkvs deep sea fish khuxplathixasyxyuinthaellukthimudmidaelaaesngaeddsxngimthung lukkwaekhtmiaesng plathaellukthiphbmakthisudkhuxplataekiyng nxkcakniyngmiplathaellukchnidxunmakmay echn plachlamkhukkikhtetxr platkebd plaiwepxrplaihlklepxrhnunginplanalukruprangprahlad cakkarsarwcmiephiyng 2 caksayphnthusingmichiwitinthaelthnghmdethannthieraruck hmaykhwamwaphwkmnxasyxyuin tangcaksingmichiwitthixasyxyuinhruxbnknthael odythwipcaphbsingmichiwitthaellukinekht radbkhwamluk 1 000 4 000 emtr aela radbkhwamluk 4 000 6 000 emtr xyangirktamplathaellukxyang plathieruxngaesngidsamarthphbidindwy radbkhwamluk 200 1 000 emtr epnhwngnathimikhwamxbaesng aetyngsamarthwdprimanaesngidelknxy radbkhwamlukthimixxksiecnnxymakcaxyuthiradb 700 1 000 emtr aetkkhunxyukbsthanthinndwywamiaehlngphlitxxksiecnhruxim thxngthaellukpanklangyngepnphunthi xaharyngxudmsmburnaelaepnhwngnathi hruxkkhuximsamarthwdprimanaesngidely hwngnaehlanikhidepn 75 khxngphunthixasyxyuidinmhasmuthr radbkhwamluk 0 200 emtr epnhwngnathimiaesngmakthaihekidkarsngekhraahaesng cungeriykidwaepnekhtmiaesng aesngsamarththaluphankhwamlukkhxngmhasmuthridephiyngimkirxyemtr thaihprimatrnakwa 90 khxngmhasmuthrepnphunthi mudmid thaellukepnphunthi misphaphthisudkhwmak ephraanamikhwameyn 3 s thung 1 8 s ykewnbriewnplxngaebbnarxn thinaxacmixunhphumisungthung 350 s xxksiecnta xikthngyngmiaerngkddnkhxngnacanwnmhasalkhnadkhwamdnrahwang 20 thung 1 000 brryakas rahwang 2 thung 100 emkapaskhal lksnathwipplathaelluknnmiruprangehmuxnstwprahladphbehnidyakaetkmikhwamnasnicephraaminithanhlayeruxngthiklawthungsingmichiwitthiphidpktimakmayaelayngimidrbkarsuksainsmynnenuxngcakphwkmnxyuinthaellukthimudmidsungxaccaphbidaekhtxnekytunhruxsaksphkhxngphwkmn plathaellukodythwipnncaphungphakhwamrusukmakkwakarmxngehnenuxngcakaesngswangitthaelluknnmiimmakphxcungimsamarthphungphakarmxngehninkarlaehyuxhruxhlikhnikarillaid mncaphungphakarepliynaeplngkhwamdnaelaklinaethn aetthungxyangnnplabangchnidmitathiiwtxaesngkwamnusythung 100 etha nxkcaknimnyngmisithiekhmephuxhlikhnikarlakhxngwalaelanklaxun xikdwy plathaellukhlaychnidepnsareruxngaesngthimidwngtathiihymakehmaakbkhwammud plathieruxngaesngmikhwamsamarthinkarphlitaesngthangchiwphaphphankarkraecingkhxngomelkulkhxnglusiephxlin luciferin sungthaihekidaesng odykrabwnkarnitxngichxxksiecndwy plaeruxngaesngmakkwa 50 swnmakxyutrngbriewnihlthwipthiradbkhwamlukpraman 200 emtraela 80 khxngkungaelaplahmukkmikhwamsamarthinkareruxngaesngdwyechnkn xwywaeruxngaesng photophores sungphlidmacakesllthimiaebkhthieriy xwywaeruxngaesngehlanimiesllthikhlaykbelnsthiehmuxnkbthixyuindwngtakhxngmnusyephuxichinkarthaihaesngkracaytwxikdwy kareruxngaesngehlaniichphlngnganephiyng 1 khxngphlngnganthnghmdaetmicudprasngkhmakmayechnichkhnhaxahar suxsar hakhuphsmphnthuaeladungdudehyuxechnplatkebdnxkcakniphwkmnynglwngtankladwykarprbaesngihtrngkbkhwamekhmkhmkhxngaesngcakdanbnidxikdwy wngcrchiwitkhxngplathaelnalukswnihycaepnikhaelatwxxntrngnatunaelalngnalukemuxotetmwy odyikhxaccalxyepnaephlngkhtxnhruxwangiwinhlumkidaelwaetchnidkhxngplaemuxphwkmnotetmthiphwkmncamikarddaeplngrangkayenuxngcakkhwamhnaaennkhxngnathaihtwphwkmnnnlxynaidcungtxngephimkhwamhnaaennkhxngtwmnihmakkwanarxb dwykarthaihenuxeyuxswnmilksnaepnenuxehlw ehmuxwunephuxsrangsmdulsingmichiwitswnmakitthaelphthnathunglmkhxngphwkmn aetenuxngcakkhwamdnthisungmakkhxngsphaphaewdlxmniplathaellukcungmkcaimidmixwywani aetthungxyangnnplathaellukthixyulukmak nncamiklamenuxthiehmuxnwunaelamiokhrngsrangkraduknxyephraaphwkmnldkhwamhnaaennkhxngenuxeyuxodyephimikhmnihsungkhunaelaldnahnkokhrngkraduklngephuxldkhnadkhwamhnaaelaprimanaeraelakarsasmnacungthaihphwkmnchaaelakhlxngtwnxykwaplabnphiwna enuxngcakkhwamluknithaihkarsngekhraahaesngnxythaihthaellukplaswnihytxngphungphakarcmkhxngsaksphaelasarxinthriycakthaeldanbn aetbangthiphwkmnkmiaehlngxaharxyuechnbriewnplxngaebbnarxnaetthungxyangnnthaelluknikepnsthanthi haxaharidyak dngnnphwkmncungmikarprbtwephuxihdarngchiwitidngaykhunechnyudhdkhakrrikridechnplachlamkxblin mitingenuxeruxngaesngthikhlayebdtkplaechnplatkebd mipakthiihyechnplaihlklepxraelamikraephaakhnadihyechnplaaeblkhswxlol plathixyuinthaelnalukmikhwamaetktangknxyangehnidchdthangokhrngsrangthangkayphaphaelaphvtikrrmsungekidcakosnthixyuxasykarxphyphkarlaaelaxun nnexngkhribknaelakhribhangepnkhxngthihaidyakinhmuplathaelnaluksungaesdngihehnwaplathaelnalukmikhwamekaaekaelasamarthprbtwihekhakbsphaphaewdlxmkhxngmniddithaihkarrukrankhxngplachnidxun nnimprasbkhwamsaerckhribswnihycaepnaebbplaobran plathaellukkhngruprangedimtngaetxditcungepnaebbxyangkhxngwiwthnakarthiyawnaninxditemuxhlayrxnlanpithiphanmaidepnxyangdi sungtangcakplaphiwbnaelaplanacudthimikarwiwthnakareruxymasthanapccubnmnusyimkhxyphbplachlamkhruythiyngmichiwitxyuphbaetsakthiekytun pccubneraruckplathaellukephiyng 2 caksayphnthuplathaelthnghmdenuxngcakphwkmnsamarthphbehnaelacbmasuksaidyakthaihidsuksaephiyngsaksphthithukkraaesnaphdphamaekytun swnthinkwithyasastrsamarthcbidkxasyxyuidephiyngimkichwomngkcataylngenuxngcakplathaellukswnihythimikarphthnainsphaphaewdlxmthimiaerngdnmhasalaelanithaihphwkmnimsamarthmichiwitxyuidinsphaphhxngptibtikaraeladwykhwamphyayamthicaekbphwkmniwinkrngkhngnncathaihphwkmntayephraasingmichiwitinthaellukmichxngwangthietmipdwyaeks vacuoles sungkasnncathukbibxdphayitaerngdnsungaelacakhyaytwphayitaerngdnta dwyehtuniexngthaihsingmichiwitehlanithukraebidhakphwkmnkhunmasuphiwnaaehlngthixyuxasyphaphplachnthubaesngplatkebdhlngkhxmplaaeblkhswxlolplaxxrplaiwepxrplaaefngkhthuthplaekhiywkang swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsrirwithyakarthithaellukimmiaesngaedd aerngkddnmhasal xunhphumita xxksiecnmiimmak aelakhwamhnaaennta xinthriywtthuthnghmdnimiphlkblksnathangsingaewdlxmkhxngplathaellukcungidmikarprbtwhlayxyangdngni klamenuxaelakraduk nahnkkhxngokhrngkradukaelaoprtinthimixyuinrangkaykhxngplamkcaepnsingthisakhymakinnaekhm aetenuxngcakitthaelnnkhadaekhlnxaharcungtxngthaihprahydphlngnganmakthisud dngnncungthaihkhwamhnaaennkhxngklamenuxaelakradukkhxngplathaelluknnthimikhnadelklngaetkmikarthdaethnodythirangkaykhxngplathaelluknnminaaelaikhmncanwnmakcungthaihphwkmnphyungtwiddi engiyngaelakhribkhxngplathaellukminahnkeba aetkarthiklamenuxminaaelaikhmneyxacungthaihklamenuxkhxngplamilksnakhlaywunsungcathaihkarekhluxnthikhxngmnchalngipdwy rabbthangedinxahar swnmakplathaellukcamipakkhnadihyaelakraephaakhnadihyenuxngcakthaelluknnepnsthanthithikhadaekhlnxahar yinglukkyinghaehyuxyakcungthaihplathaelluknncbthukxyangthiphwkmnphbthungaemwaehyuxcamikhnadihyephuxcaimtxngichphlngnganmakekinipinkaraeswnghaehyuxraytxipechnplaihlklepxrthimipakkhnadihyaelaplaaeblkhswxlolthimikraephaakhnadihy karprbepliynlksnathangkayphaph plathaelluknncamikarepliynaepllksnathangkayphaphkhxngtwmnexngephuxihekhakbsphaphaewdlxmthimnxasyxyuechnkarmidwngtathiihyotkhunenuxngcakichephuxprasiththiphaphinkarrbaesnginitthaelxnmudmid karmxngehn thaelluknnimmiaesngswangsxngphanlngipthungcungthaihplathaellukbangchnidnnmikarprbtw 2 rupaebbkhuxthaihdwngtaihykwapktiephuxephimkarrbaesng kbxikbangchnidnnepnplathitabxd kareruxngaesng plathixasyxyuinkhwammudkhxngthaelluknnmispichis 65 cakkarsumtrwcnnsamarththicaeruxngaesngidodncamixwywaeruxngaesngsungsrangkhunodyptikiriyathangekhmikhxngaesnghruxmikarichaebkhthieriy odyxwywaeruxngaesngehlanicamihnathitangknxxkiptamchnidkhxngplaaelasphaphaewdlxm echnichhakhuhruxexaiwichlxehyux karihkaenid enuxngcakkhwamhnaaennkhxngprachakrthitacungthaihkhwamnacaepnkhxngkarthiephschayaelahyingmaecxknepnipidyakcungthaihephschaymikarepliynaeplngrangkaykhxngtwexngihelklngaelathatwexngihtidipkbephsemiyemuxecxkncaknncakhxy rwmknaelwrbsarxaharcakkraaeseluxdkhxngephsemiyehmuxepnprsitaelarwmkncnehluxaetxwywasubphnthuephuxichinkarsubphnthukarpramngthaellukkarthapramngthaellukkhxngithyyngimidmikarphthnamakethathikhwremuxethiybkbpraethsxun miephiyngkarrwmmuxkbtangpraethsinkarcbplathunaethannraychuxplathaellukplakhwan plaekhiywkang plakhiemiyra plachlamkrinaelnd plachlamkxblin plachlamkhruy plataekiyng plaaefngkhthuth plaiwepxr plaaeblkhswxlol plaihlklepxr plaxxr plaaexngeklxr plaaexngeklxrhlngkhxmplaiklsuyphnthucakkarsuksain ph s 2549 khxngnkwithyasastrchawaekhnadannidphbplathaellukidaek pla blue hake aelapla spiny eel thicasuyphnthuenuxngcakkartkplainechingphanichytngaetbriewnihlthwip knsmuthrthiradbkhwamlukpraman 1 600 emtr enuxngkarsubphnthukhxngplaehlanichaaelamiwyecriyphnthuinxayuthietha knkbmnusycungthaihniepnhnunginehtuphlhlkthiphwkmnimsamarthfuntwidcakkarpramngthimakekinipkhxngmnusyduephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb plathaelluk planacud planakrxy planaekhmxangxingTrujillo Alan P Harold V Thurman 2011 Essentials of Oceanography 10th ed Boston Prentice Hall p 354 ISBN 978 0321668127 Trujillo Alan P Harold V Thurman 2011 Essentials of Oceanography 10th ed Boston Prentice Hall p 365 ISBN 978 0321668127 Trujillo Alan P Harold V Thurman 2011 Essentials of Oceanography 10th ed Boston Prentice Hall pp 457 460 ISBN 978 0321668127 Trujillo Alan P Harold V Thurman 2011 Essentials of Oceanography 10th ed Boston Prentice Hall p 415 ISBN 978 0321668127 Trujillo Alan P Harold V Thurman 2011 Essentials of Oceanography 10th ed Boston Prentice Hall pp 414 415 ISBN 978 0321668127 Randall David J Anthony Peter Farrell 1997 Deep sea Fishes San Diego Academic p 217 ISBN 978 0123504401 Randall David J Anthony Peter Farrell 1997 Deep sea Fishes San Diego Academic p 195 ISBN 978 0123504401 Randall David J Anthony Peter Farrell 1997 Deep sea Fishes San Diego Academic pp 196 225 ISBN 978 0123504401 Moyle and Cech 2004 p 591 Haedrich RL 1996 Deep water fishes evolution and adaptation in the earth s largest living spaces ekbthawr 2012 10 17 thi Journal of Fish Biology 49 sA 40 53 Moyle and Cech 2004 page 586 Compagno L J V 1984 Sharks of the World An Annotated and Illustrated Catalogue of Shark Species Known to Date Food and Agricultural Organization of the United Nations pp 14 15 ISBN 92 5 101384 5 Wharton David A 2007 07 23 vacuoles amp source bl amp ots sC3ScXZ Bf amp sig X7oTxFYOAAZEDP9UgygFO6LUmwQ amp hl en amp sa X amp ved 0ahUKEwjK f2Q7 zRAhXDKWMKHSzXBY4Q6AEIIjAC v onepage amp q Deep sea 20organisms 20contain 20gas filled 20spaces 20 vacuoles amp f false Life at the Limits Organisms in Extreme Environments phasaxngkvs Cambridge University Press ISBN 9781139431941 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkha url help Wharton David 2002 Life at the Limits Organisms in Extreme Environments Cambridge UK Cambridge UP p 199 ISBN 978 0521782128 Ryan P Deep sea creatures The bathypelagic zone Te Ara the Encyclopedia of New Zealand Updated 21 September 2007 Froese Rainer and Pauly Daniel eds 2010 Chauliodus sloani in April 2010 version aehlngkhxmulxun