ปราสาทสมบูรณ์ไพรคุก (เขมร: ប្រាសាទសំបូរព្រៃគុក บฺราสาทสํบูรไพฺรคุก) หรือไทยมักเขียนว่า ปราสาทสมโบร์ไพรกุก เป็นโบราณสถานในจังหวัดกำปงธม (ខេត្តកំពង់ធំ เขตฺตกํพง̍ธํ) ประเทศกัมพูชา อยู่ห่างจากเมืองกำปงธม (ក្រុងកំពង់ធំ กฺรุงกํพง̍ธํ) เมืองเอกของจังหวัดกำปงธม ไปทางเหนือราว 30 กิโลเมตร อยู่ห่างจากเมืองพระนครไปทางตะวันออกราว 176 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากราชธานีพนมเปญ (រាជធានីភ្នំពេញ ราชธานีภฺนํเพญ) ไปทางเหนือราว 206 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นแต่ซากปรักหักพัง มีอายุย้อนหลังไปถึงสมัยเจนละ ซึ่งเป็นสมัยก่อนพระนคร เพราะเคยเป็นที่ตั้งเมืองชื่อ อีศานปุระ (ឦឝានបុរ อีศานบุร) ที่พระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 (ឦឝានវម៌្មទី១ อีศานวรฺมฺมที ๑) พระมหากษัตริย์เจนละ ทรงสถาปนาขึ้นเป็นเมืองหลวงในคริสต์ศตวรรษที่ 7
เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอีศานปุระ * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
ปราสาทสมโบร์ไพรกุก | |
พิกัด | 12°52′54″N 105°54′20″E / 12.88167°N 105.90556°E |
(ประเทศ) | กัมพูชา |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
(เกณฑ์พิจารณา) | (ii), (iii), (vi) |
อ้างอิง | 1532 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2560 (คณะกรรมการสมัยที่ 41) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
ปราสาทสมบูรณ์ไพรคุก ប្រាសាទសំបូរព្រៃគុក | |
---|---|
อุทยานประวัติศาสตร์ | |
แผนที่ปราสาท | |
ปราสาทสมบูรณ์ไพรคุก ที่ตั้งในกัมพูชา | |
พิกัด: 12°52′15″N 105°2′35″E / 12.87083°N 105.04306°E | |
ประเทศ | กัมพูชา |
จังหวัด | กำปงธม |
สมบูรณ์ | |
ภูมิ | สมบูรณ์ |
ผู้ก่อตั้ง | อีศานวรรมัมที่ 1 |
เขตเวลา | () |
นครที่ใกล้ที่สุด | กำปงธม |
ปราสาทสมบูรณ์ไพรคุกตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของทะเลสาบ (ទន្លេសាប ทนฺเลสาบ) ใกล้กับ (ស្ទឹងសែន สฺทึงแสน) อาคารในพื้นที่ปราสาทนั้นแบ่งได้เป็นสามกลุ่มหลัก แต่ละกลุ่มมีกำแพงอิฐล้อมรอบเป็นสี่เหลี่ยม และไม่ได้สร้างขึ้นพร้อมกัน กลุ่มทางเหนือและทางใต้นั้นสร้างขึ้นก่อนเพื่อน โดยสร้างขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ตามรับสั่งของพระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 จึงถือกันว่า พระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 เป็นผู้สถาปนาปราสาทสมบูรณ์ไพรคุกนี้ ส่วนกลุ่มตรงกลางสร้างขึ้นภายหลัง
อาคารต่าง ๆ ในพื้นที่ปราสาทมีลักษณะของสถาปัตยกรรมในสมัยก่อนพระนคร วางแผนผังไม่ซับซ้อน วัสดุหลักที่ใช้ก่อสร้างคืออิฐ แต่บางจุดก็ใช้หินทราย จุดเด่นของสถาปัตยกรรม ประกอบด้วย ปราสาทย่อยหลายหลัง, หอทรงแปดเหลี่ยม, ศิวลึงค์กับโยนี, สระและฝาย, รวมถึงประติมากรรมรูปสิงห์
ใน ค.ศ. 2017 ยูเนสโกประกาศให้ปราสาทสมบูรณ์ไพรคุกเป็นแหล่งมรดกโลก แต่พื้นที่นี้เคยฝังระเบิดไว้ในช่วงสงคราม และน่าจะยังถอดออกไม่หมด
กลุ่มอาคาร
อาคารต่าง ๆ ในพื้นที่ปราสาทนั้นแบ่งออกเป็นสามกลุ่มตามทิศที่ตั้ง ดังนี้
- กลุ่มเหนือ มีศูนย์กลางอยู่ที่ (ប្រាសាទសំបូរ บฺราสาทสํบูร) ซึ่งสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 7 เพื่อถวาย (Gambhireshvara) ร่างหนึ่งของพระศิวะ
- กลุ่มใต้ มีศูนย์กลางอยู่ที่ (ប្រាសាទយាយព័ន្ บฺราสาทยายพันฺธ) ซึ่งสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 7 เพื่อถวายพระศิวะเช่นกัน มีเทวาลัยย่อย 22 หลัง
- กลุ่มกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่ (ប្រាសាទបុរាម บฺราสาทบุราม) แต่มักเรียกกันว่า "ปราสาทโต" (ប្រាសាទតោ; "ปราสาทสิงโต") เพราะมีประติมากรรมรูปสิงห์อันเลื่องชื่ออยู่ อาคารกลุ่มนี้สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 มีเทวาลัยย่อย 18 แห่ง และมีตึกที่เรียกว่า "อาศรมฤๅษี" (Ashram Issey) เป็นจุดเด่นอีกจุด
อาคารแต่ละกลุ่มกินพื้นที่ราว 1,000 เอเคอร์ และมีกำแพงอิฐล้อมรอบสองชั้น
ประวัติ
พระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 เสวยราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเจนละในช่วง ค.ศ. 616–637 โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่อีศานปุระ ซึ่งก็คือปราสาทสมบูรณ์ไพรคุกนี้เอง จารึกหลักหนึ่งซึ่งสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 เรียกขานพระองค์ว่า "ราชาธิราชผู้ปกครองสุวรรณภูมิ" (King of Kings, who rules over Suvarnabhumi) จึงมีผู้เสนอว่า ที่จริงแล้ว "สุวรรณภูมิ" อาจตั้งอยู่ในกัมพูชาก็ได้ อนึ่ง ช่วงที่เสวยราชย์ พระเจ้าอีศานวรรมัมที่ 1 ทรงส่งราชทูตคณะหนึ่งไปยังราชสำนักสุย (隋朝) แห่งจีน และเอกสารจีนบันทึกด้วยว่า เมื่อสิ้นรัชศกหย่งฮุย (永徽) ของจักรพรรดิเกาจง (高宗) แห่งราชวงศ์ถัง (唐朝) ซึ่งตรงกับ ค.ศ. 650–656 เจนละสามารถพิชิตรัฐต่าง ๆ ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเคยส่งบรรณาการให้จีนได้
ต่อมา เมื่อพระเจ้าชัยวรรมันที่ 1 (ជ័យវរ្ម័នទី១ ชัยวรฺมันที ๑) แห่งเจนละ สิ้นพระชนม์ และพระธิดา คือ พระนางชยเทวี (ជយទេវី) ขึ้นครองราชย์ต่อ เจนละก็ตกอยู่ในความวุ่นวายทางการเมืองจนแตกแยกออกเป็นรัฐย่อยต่าง ๆ ศูนย์กลางการปกครองก็ย้ายจากอีศานปุระไปยัง (សម្ភុបុរ สมฺภุบุร) แต่ก็นำไปสู่การก่อตั้งจักรวรรดิเขมรในเวลาต่อมา
ศาสนา
ปราสาทนี้สร้างถวายพระศิวะ เพราะเจนละในช่วงนั้นนับถือไศวนิกาย ซึ่งเป็นนิกายหนึ่งของศาสนาฮินดูที่ถือพระศิวะเป็นใหญ่ และบูชาศิวลึงค์ (อวัยวะเพศชายของพระศิวะ) ควบคู่กับโยนี (อวัยวะเพศหญิงศักติ)
แม้ไศวนิกายจะเป็นศาสนาที่นับถือกันในเจนละ แต่ปราสาทนี้ก็มีองค์ประกอบจากนิกายอื่นของศาสนาฮินดู และจากศาสนาอื่นอย่างศาสนาพุทธ ปรากฏอยู่ด้วย
รูป
- Group C and Prasat Boram or Prasat Tao.
- The two lions at Prasat Boram.
- Lintel from Sambo Prei Kuk at , Paris.
- Yeai Poeun Temple.
- Temple N7.
- Vajimukha (horse-headed deity) from temple N7 at the Guimet Museum.
- Temple S1.
- S1 Yeai Poeun Temple
- Prasat Boram
- Prasat Boram S1 Sanctuary. Sambor Prei Kuk.
- Interior Temple S1.
- Interior Temple S1.
- Temple N18.
- Temple N16.
อ้างอิง
- Higham, C., 2014, Early Mainland Southeast Asia, Bangkok: River Books Co., Ltd., ISBN
- Coedès, George (1968). Walter F. Vella (บ.ก.). The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN .
- (May 11, 1989). The Archaeology of Mainland Southeast Asia. Cambridge University Press. pp. 265–267.
- Groupe de Sambor Prei Kuk - UNESCO World Heritage Centre
- Gnarfgnarf:Sambor Prei Kuk : a pre-Angkorian gem in the forest, 20 November 2010, retrieved on 3 May 2012
- "Sites in Cambodia, China and India added to UNESCO's World Heritage List". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2017-07-08.
- Michon, D. & Kalay, Y. (2012). Virtual Sambor Prei Kuk: An Interactive Learning Tool. Systemics, Cybernetics and Informatics, 10 (3): pp. 29/37. Link retrieved on July 6, 2015 from http://www.iiis.org/CDs2011/CD2011SCI/EISTA_2011/PapersPdf/EA432ZU.pdf
- Description Prasat Yeah Puon. Ministry of Tourism of Cambodia. Link retrieved on July 8, 2015 from http://www.tourismcambodia.org/provincial_guide/index.php?view=attdetail&prv=6&att=280 2015-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Palmer, B. The Rough Guide to Cambodia. August 1, 2011. p. 211. Link retrieved on July 6, 2015 from https://books.google.it/books?id=oR-Kmnj8wmAC&pg=PA211&dq=Sambor+Prei+Kuk&hl=en&sa=X&ei=0Y6aVZ-qAY_o8AWp-b6QDg&ved=0CD8Q6AEwBA#v=onepage&q=Sambor%20Prei%20Kuk&f=false
- “Coedès. ‟Histories of Cambodia”. Page 11.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 2019-06-21.
{{}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)) - Wolters, "North-western Cambodia in the seventh century", p. 356 and pp. 374-375
- O'Reilly. Early Civilizations of Southeast Asia. December 21, 2005. Page 113.
- Hinduism: Beliefs and Practices, by Jeanne Fowler, pgs. 42–43
- Mudaliyar, Sabaratna. "Lecture on the Shiva Linga 2012-06-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน". Malaysia Hindu Dharma Mamandram. Retrieved 27 March 2012.
- Zimmer, Heinrich Robert (1946). Campbell, Joseph, ed. Myths and symbols in Indian art and civilization. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. p. 126. ISBN .
- Chandler, A History of Cambodia, pp.19-20.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
prasathsmburniphrkhuk ekhmr ប រ ស ទស ប រព រ គ ក b rasathsburiph rkhuk hruxithymkekhiynwa prasathsmobriphrkuk epnobransthanincnghwdkapngthm ខ ត តក ពង ធ ekht tkphng th praethskmphucha xyuhangcakemuxngkapngthm ក រ ងក ពង ធ k rungkphng th emuxngexkkhxngcnghwdkapngthm ipthangehnuxraw 30 kiolemtr xyuhangcakemuxngphrankhripthangtawnxxkraw 176 kiolemtr aelaxyuhangcakrachthaniphnmepy រ ជធ ន ភ ន ព ញ rachthaniph nephy ipthangehnuxraw 206 kiolemtr pccubnepnaetsakprkhkphng mixayuyxnhlngipthungsmyecnla sungepnsmykxnphrankhr ephraaekhyepnthitngemuxngchux xisanpura ឦឝ នប រ xisanbur thiphraecaxisanwrrmmthi 1 ឦឝ នវម មទ ១ xisanwr m mthi 1 phramhakstriyecnla thrngsthapnakhunepnemuxnghlwnginkhriststwrrsthi 7ekhtprasathsmobriphrkuk aehlngobrankhdiaehngxisanpura aehlngmrdkolkodyyuensokprasathsmobriphrkukphikd12 52 54 N 105 54 20 E 12 88167 N 105 90556 E 12 88167 105 90556 Temple Zone of Sambor Prei Kuk Archaeological Site of Ancient Ishanapura praeths kmphuchapraephthmrdkthangwthnthrrmeknthphicarna ii iii vi xangxing1532prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn2560 khnakrrmkarsmythi 41 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensokprasathsmburniphrkhuk ប រ ស ទស ប រព រ គ កxuthyanprawtisastraephnthiprasathprasathsmburniphrkhukthitnginkmphuchaphikd 12 52 15 N 105 2 35 E 12 87083 N 105 04306 E 12 87083 105 04306praethskmphuchacnghwdkapngthmsmburnphumismburnphukxtngxisanwrrmmthi 1ekhtewlaUTC 07 00 yuthisikapngthm nkhrthiiklthisudkapngthm prasathsmburniphrkhuktngxyubnfngtawnxxkkhxngthaelsab ទន ល ស ប thn elsab iklkb ស ទ ងស ន s thungaesn xakharinphunthiprasathnnaebngidepnsamklumhlk aetlaklummikaaephngxithlxmrxbepnsiehliym aelaimidsrangkhunphrxmkn klumthangehnuxaelathangitnnsrangkhunkxnephuxn odysrangkhuninchwngkhriststwrrsthi 7 tamrbsngkhxngphraecaxisanwrrmmthi 1 cungthuxknwa phraecaxisanwrrmmthi 1 epnphusthapnaprasathsmburniphrkhukni swnklumtrngklangsrangkhunphayhlng xakhartang inphunthiprasathmilksnakhxngsthaptykrrminsmykxnphrankhr wangaephnphngimsbsxn wsduhlkthiichkxsrangkhuxxith aetbangcudkichhinthray cudednkhxngsthaptykrrm prakxbdwy prasathyxyhlayhlng hxthrngaepdehliym siwlungkhkboyni sraaelafay rwmthungpratimakrrmrupsingh in kh s 2017 yuensokprakasihprasathsmburniphrkhukepnaehlngmrdkolk aetphunthiniekhyfngraebidiwinchwngsngkhram aelanacayngthxdxxkimhmdklumxakharxakhartang inphunthiprasathnnaebngxxkepnsamklumtamthisthitng dngni klumehnux misunyklangxyuthi ប រ ស ទស ប រ b rasathsbur sungsrangkhuninkhriststwrrsthi 7 ephuxthway Gambhireshvara ranghnungkhxngphrasiwa klumit misunyklangxyuthi ប រ ស ទយ យព ន b rasathyayphn th sungsrangkhuninkhriststwrrsthi 7 ephuxthwayphrasiwaechnkn miethwalyyxy 22 hlng klumklang misunyklangxyuthi ប រ ស ទប រ ម b rasathburam aetmkeriykknwa prasathot ប រ ស ទត prasathsingot ephraamipratimakrrmrupsinghxneluxngchuxxyu xakharklumnisrangkhuninkhriststwrrsthi 9 miethwalyyxy 18 aehng aelamitukthieriykwa xasrmvisi Ashram Issey epncudednxikcud xakharaetlaklumkinphunthiraw 1 000 exekhxr aelamikaaephngxithlxmrxbsxngchnprawtiphraecaxisanwrrmmthi 1 eswyrachyepnphramhakstriyaehngecnlainchwng kh s 616 637 odymisunyklangxyuthixisanpura sungkkhuxprasathsmburniphrkhukniexng carukhlkhnungsungsrangkhuninsmyphraecaxisanwrrmmthi 1 eriykkhanphraxngkhwa rachathirachphupkkhrxngsuwrrnphumi King of Kings who rules over Suvarnabhumi cungmiphuesnxwa thicringaelw suwrrnphumi xactngxyuinkmphuchakid xnung chwngthieswyrachy phraecaxisanwrrmmthi 1 thrngsngrachthutkhnahnungipyngrachsanksuy 隋朝 aehngcin aelaexksarcinbnthukdwywa emuxsinrchskhynghuy 永徽 khxngckrphrrdiekacng 高宗 aehngrachwngsthng 唐朝 sungtrngkb kh s 650 656 ecnlasamarthphichitrthtang inphakhtawntkechiyngehnuxsungekhysngbrrnakarihcinid txma emuxphraecachywrrmnthi 1 ជ យវរ ម នទ ១ chywr mnthi 1 aehngecnla sinphrachnm aelaphrathida khux phranangchyethwi ជយទ វ khunkhrxngrachytx ecnlaktkxyuinkhwamwunwaythangkaremuxngcnaetkaeykxxkepnrthyxytang sunyklangkarpkkhrxngkyaycakxisanpuraipyng សម ភ ប រ sm phubur aetknaipsukarkxtngckrwrrdiekhmrinewlatxmasasnaprasathnisrangthwayphrasiwa ephraaecnlainchwngnnnbthuxiswnikay sungepnnikayhnungkhxngsasnahinduthithuxphrasiwaepnihy aelabuchasiwlungkh xwywaephschaykhxngphrasiwa khwbkhukboyni xwywaephshyingskti aemiswnikaycaepnsasnathinbthuxkninecnla aetprasathnikmixngkhprakxbcaknikayxunkhxngsasnahindu aelacaksasnaxunxyangsasnaphuthth praktxyudwyrupGroup C and Prasat Boram or Prasat Tao The two lions at Prasat Boram Lintel from Sambo Prei Kuk at Paris Yeai Poeun Temple Temple N7 Vajimukha horse headed deity from temple N7 at the Guimet Museum Temple S1 S1 Yeai Poeun Temple Prasat Boram Prasat Boram S1 Sanctuary Sambor Prei Kuk Interior Temple S1 Interior Temple S1 Temple N18 Temple N16 xangxingHigham C 2014 Early Mainland Southeast Asia Bangkok River Books Co Ltd ISBN 9786167339443 Coedes George 1968 Walter F Vella b k The Indianized States of Southeast Asia trans Susan Brown Cowing University of Hawaii Press ISBN 978 0 8248 0368 1 May 11 1989 The Archaeology of Mainland Southeast Asia Cambridge University Press pp 265 267 Groupe de Sambor Prei Kuk UNESCO World Heritage Centre Gnarfgnarf Sambor Prei Kuk a pre Angkorian gem in the forest 20 November 2010 retrieved on 3 May 2012 Sites in Cambodia China and India added to UNESCO s World Heritage List UNESCO subkhnemux 2017 07 08 Michon D amp Kalay Y 2012 Virtual Sambor Prei Kuk An Interactive Learning Tool Systemics Cybernetics and Informatics 10 3 pp 29 37 Link retrieved on July 6 2015 from http www iiis org CDs2011 CD2011SCI EISTA 2011 PapersPdf EA432ZU pdf Description Prasat Yeah Puon Ministry of Tourism of Cambodia Link retrieved on July 8 2015 from http www tourismcambodia org provincial guide index php view attdetail amp prv 6 amp att 280 2015 07 10 thi ewyaebkaemchchin Palmer B The Rough Guide to Cambodia August 1 2011 p 211 Link retrieved on July 6 2015 from https books google it books id oR Kmnj8wmAC amp pg PA211 amp dq Sambor Prei Kuk amp hl en amp sa X amp ei 0Y6aVZ qAY o8AWp b6QDg amp ved 0CD8Q6AEwBA v onepage amp q Sambor 20Prei 20Kuk amp f false Coedes Histories of Cambodia Page 11 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 06 06 subkhnemux 2019 06 21 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a rabu accessdate aela access date makkwahnungraykar help rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help Wolters North western Cambodia in the seventh century p 356 and pp 374 375 O Reilly Early Civilizations of Southeast Asia December 21 2005 Page 113 Hinduism Beliefs and Practices by Jeanne Fowler pgs 42 43 Mudaliyar Sabaratna Lecture on the Shiva Linga 2012 06 30 thi ewyaebkaemchchin Malaysia Hindu Dharma Mamandram Retrieved 27 March 2012 Zimmer Heinrich Robert 1946 Campbell Joseph ed Myths and symbols in Indian art and civilization Princeton New Jersey Princeton University Press p 126 ISBN 0 691 01778 6 Chandler A History of Cambodia pp 19 20