บทความนี้ไม่มีจาก(March 2007) |
ประสิทธิศักย์ของวัคซีน (อังกฤษ: vaccine efficacy) เป็นอัตราลดการติดโรคภายในกลุ่มคนที่ได้วัคซีนเทียบกับคนที่ไม่ได้ โดยจัดให้มีสถานการณ์ดีสุดเพื่ออำนวยให้เกิดผล เป็นค่าวัดประสิทธิภาพของวัคซีนที่เริ่มใช้ในปี 1915 สำหรับวัคซีนอหิวาตกโรคและไข้รากสาดน้อย ค่าวัดที่ดีสุดมาจากการทดลองทางคลินิกอย่างสุ่มและมีกลุ่มควบคุม โดยอำพรางทั้งผู้ได้วัคซีนและแพทย์พยาบาลว่าใครได้วัคซีนจริง ๆ และทำในสถานการณ์ที่จัดให้ดีสุด ดังนั้น ประสิทธิภาพของวัคซีน (vaccine effectiveness) จึงต่างกับประสิทธิศักย์ของวัคซีน เพราะค่าประสิทธิภาพแสดงว่าวัคซีนมีผลดีแค่ไหนในสถานการณ์ทุกอย่างและในกลุ่มประชากรที่ใหญ่กว่า เทียบกับค่าประสิทธิศักย์ที่แสดงว่าวัคซีนได้ผลดีแค่ไหนในสถานการณ์โดยเฉพาะ ๆ และมักเป็นสถานการณ์ที่ควบคุม ค่าประสิทธิศักย์ของวัคซีนใช้ประเมินผลที่อาจเกิดขึ้นหลายอย่างรวมทั้งอัตราการเกิดโรค (disease attack rate ตัวย่อ AR), การเข้า รพ., การไปหาแพทย์ และค่าใช้จ่าย/ภาระทางเศรษฐกิจ
สูตร
ประสิทธิศักย์ของวัคซีนทั่วไปจะแสดงเป็นค่าลดอัตราการเกิดโรค (AR) ระหว่างผู้ที่ไม่ได้วัคซีนเทียบกับผู้ที่ได้วัคซีน หรือสามารถคำนวณจากค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์ของกลุ่มที่ได้วัคซีน
สูตรพื้นฐานคือ
- โดยที่
- = ประสิทธิศักย์ของวัคซีน
- = อัตราการเกิดโรค (AR) ของผู้ไม่ได้วัคซีน
- = อัตราการเกิดโรค (AR) ของผู้ได้วัคซีน
- โดยที่
หรือสามารถเขียนเป็นสูตรที่สมมูล/เสมอกันคือ
- โดยที่
- เป็นความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคสำหรับผู้ได้วัคซีนเทียบกับผู้ไม่ได้
- โดยที่
การตรวจค่า
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กรณีศึกษา
มีงานศึกษาประสิทธิศักย์ของวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ A ที่ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ อาสาสมัคร 1,952 คนได้รับวัคซีนในฤดูใบไม้ตกปี 2007 หลังจากนั้น ไข้หวัดใหญ่ก็ได้ระบาดในระหว่างเดือนมกราคม-เมษายน 2008 โดยมีชนิดต่าง ๆ คือ
- A (H3N2) (ประมาณร้อยละ 90)
- B (ประมาณร้อยละ 9)
ค่าประสิทธิศักย์สัมบูรณ์ต่อต้านไข้หวัดใหญ่ทั้งสองประเภท วัดโดยแยกไวรัสที่ได้จากการเพาะ หรือโดยระบุด้วยการวิเคราะห์ทางปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเวลาจริง (real-time PCR) หรือโดยวิธีทั้งสอง อยู่ที่ร้อยละ 68 (ช่วงความเชื่อมั่น [CI] ที่ 95%, 46-81) สำหรับวัคซีนเชื้อตาย (inactivated) หรือร้อยละ 36 (95% CI, 0-59) สำหรับวัคซีนที่เชื้อยังเป็นแต่ลดฤทธิ์แล้ว (live attenuated) ถ้าระบุเป็นค่าประสิทธิศักย์สัมพัทธ์ อาสาสมัครเกิดโรคไข้หวัดใหญ่ที่ยืนยันโดยแล็บน้อยลงร้อยละ 50 (95% CI, 20-69) เมื่อได้รับวัคซีนเชื้อตายเทียบกับวัคซีนที่เชื้อยังเป็นแต่ลดฤทธิ์แล้ว อาสาสมัครเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี ส่วนค่าประสิทธิศักย์สัมบูรณ์ต่อต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A อยู่ที่ร้อยละ 72 สำหรับวัคซีนเชื้อตายและร้อยละ 29 สำหรับวัคซีนที่เชื้อยังเป็นแต่ลดฤทธิ์แล้ว โดยมีค่าประสิทธิศักย์สัมพัทธ์ที่ร้อยละ 60 ดังนั้น วัคซีนไข้หวัดใหญ่จึงไม่มีประสิทธิศักย์เต็มร้อยในการป้องกันโรค แต่ก็ปลอดภัยเกือบเต็มร้อย และการได้วัคซีนก็ปลอดภัยกว่าการไม่ได้
มีงานศึกษาที่ให้วัคซีนแก่อาสาสมัคร 2,058 คนระหว่างเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2005 การระบาดของไข้หวัดใหญ่ต่อมามีระยะยาวแต่รุนแรงน้อย ไวรัสประเภท A (H3N2) ที่กำลังเวียนไปในกลุ่มประชากรทั่วไปช่วงนั้นก็คล้ายกับที่พบในวัคซีนมาก ประสิทธิศักย์ของวัคซีนเชื้อตายสำหรับไวรัสที่แยกได้จากการเพาะหรือการระบุผ่าน PCR อยู่ที่ร้อยละ 16 (95% CI, -171%-70%) และที่ร้อยละ 54 (95% CI, 4%-77%) สำหรับไวรัสที่แยกได้จากเลือดหรือระดับสารภูมิต้านทานโดยเฉพาะ ๆ (antibody titer) ที่สูงขึ้น ประสิทธิศักย์สัมบูรณ์ของวัคซีนที่เชื้อยังเป็นแต่ลดฤทธิ์แล้วสำหรับวิธีการวัดเชื้อทั้งสองอย่างที่ว่านี้อยู่ที่ร้อยละ 8 (95% CI, -194%-67%) และร้อยละ 43 (95% CI, -15%-71%)
เมื่อตรวจไวรัสที่ได้จากเลือด วัคซีนเชื้อตายจัดว่ามีประสิทธิศักย์คือทำให้ผู้ได้วัคซีนติดโรคไข้หวัดใหญ่น้อยในปีหนึ่ง วัคซีนไข้หวัดใหญ่มีประสิทธิภาพลดกรณีไข้หวัดใหญ่โดยเฉพาะเมื่อพยากรณ์สายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ที่จะเป็นได้ถูกต้องและเชื้อกระจายไปอย่างกว้างขวาง แต่ก็มีประสิทธิภาพน้อยกว่าเพื่อลดกรณีเจ็บป่วยที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (influenza-like illness) และมีผลน้อยต่อเวลาการทำงานที่เสียไป และยังไม่มีหลักฐานพอเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Weinburg, G.; Szilagyi, P. (2010). "Vaccine Epidemiology: Efficacy, Effectiveness, and the Translational Research Roadmap". Journal of Infectious Diseases. 201 (11): 1607–1610.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Orenstein, WA; Bernier, RH; Dondero, TJ; Hinman, AR; Marks, JS; Bart, KJ; Sirotkin, B (1985). "Field evaluation of vaccine efficacy". Bull. World Health Organ. 63 (6): 1055–68. PMC 2536484. PMID 3879673.
- Crislip (2009) cited Monto, Arnold S.; Ohmit, Suzanne E.; Petrie, Joshua G.; Johnson, Emileigh; Truscon, Rachel; Teich, Esther; Rotthoff, Judy; Boulton, Matthew; Victor, John C. (2009). "Comparative Efficacy of Inactivated and Live Attenuated Influenza Vaccines". New England Journal of Medicine. 361 (13): 1260–1267. doi:10.1056/NEJMoa0808652. ISSN 0028-4793. PMID 19776407.
- Crislip, M (2009-10-09). "Flu Vaccine Efficacy". Science-Based Medicine. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-01.
- Crislip (2009) cited Ohmit, Suzanne E.; Victor, John C.; Teich, Esther R.; Truscon, Rachel K.; Rotthoff, Judy R.; Newton, Duane W.; Campbell, Sarah A.; Boulton, Matthew L.; Monto, Arnold S. (2008). "Prevention of Symptomatic Seasonal Influenza in 2005-2006 by Inactivated and Live Attenuated Vaccines". The Journal of Infectious Diseases. 198 (3): 312–317. doi:10.1086/589885. ISSN 0022-1899. PMC 2613648. PMID 18522501.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk March 2007 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir prasiththiskykhxngwkhsin xngkvs vaccine efficacy epnxtraldkartidorkhphayinklumkhnthiidwkhsinethiybkbkhnthiimid odycdihmisthankarndisudephuxxanwyihekidphl epnkhawdprasiththiphaphkhxngwkhsinthierimichinpi 1915 sahrbwkhsinxhiwatkorkhaelaikhraksadnxy khawdthidisudmacakkarthdlxngthangkhlinikxyangsumaelamiklumkhwbkhum odyxaphrangthngphuidwkhsinaelaaephthyphyabalwaikhridwkhsincring aelathainsthankarnthicdihdisud dngnn prasiththiphaphkhxngwkhsin vaccine effectiveness cungtangkbprasiththiskykhxngwkhsin ephraakhaprasiththiphaphaesdngwawkhsinmiphldiaekhihninsthankarnthukxyangaelainklumprachakrthiihykwa ethiybkbkhaprasiththiskythiaesdngwawkhsinidphldiaekhihninsthankarnodyechphaa aelamkepnsthankarnthikhwbkhum khaprasiththiskykhxngwkhsinichpraeminphlthixacekidkhunhlayxyangrwmthngxtrakarekidorkh disease attack rate twyx AR karekha rph kariphaaephthy aelakhaichcay pharathangesrsthkicwkhsinikhhwdihybthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxhasutrprasiththiskykhxngwkhsinthwipcaaesdngepnkhaldxtrakarekidorkh AR rahwangphuthiimidwkhsinethiybkbphuthiidwkhsin hruxsamarthkhanwncakkhakhwamesiyngsmphththkhxngklumthiidwkhsin sutrphunthankhux VE ARU ARVARU 100 displaystyle VE frac ARU ARV ARU times 100 odythi VE textstyle VE prasiththiskykhxngwkhsin ARU displaystyle ARU xtrakarekidorkh AR khxngphuimidwkhsin ARV displaystyle ARV xtrakarekidorkh AR khxngphuidwkhsin dd hruxsamarthekhiynepnsutrthismmul esmxknkhux VE 1 RR displaystyle VE 1 RR odythi RR displaystyle RR epnkhwamesiyngsmphththkhxngkarekidorkhsahrbphuidwkhsinethiybkbphuimid dd kartrwckhaswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkrnisuksamingansuksaprasiththiskykhxngwkhsinikhhwdihyaebb Athitiphimphinwarsarkaraephthyniwxingaelnd xasasmkhr 1 952 khn idrbwkhsininvduibimtkpi 2007 hlngcaknn ikhhwdihykidrabadinrahwangeduxnmkrakhm emsayn 2008 odymichnidtang khux A H3N2 pramanrxyla 90 B pramanrxyla 9 khaprasiththiskysmburntxtanikhhwdihythngsxngpraephth wdodyaeykiwrsthiidcakkarephaa hruxodyrabudwykarwiekhraahthangptikiriyalukosphxliemxersewlacring real time PCR hruxodywithithngsxng xyuthirxyla 68 chwngkhwamechuxmn CI thi 95 46 81 sahrbwkhsinechuxtay inactivated hruxrxyla 36 95 CI 0 59 sahrbwkhsinthiechuxyngepnaetldvththiaelw live attenuated tharabuepnkhaprasiththiskysmphthth xasasmkhrekidorkhikhhwdihythiyunynodyaelbnxylngrxyla 50 95 CI 20 69 emuxidrbwkhsinechuxtayethiybkbwkhsinthiechuxyngepnaetldvththiaelw xasasmkhrepnphuihythimisukhphaphdi swnkhaprasiththiskysmburntxtaniwrsikhhwdihychnid A xyuthirxyla 72 sahrbwkhsinechuxtayaelarxyla 29 sahrbwkhsinthiechuxyngepnaetldvththiaelw odymikhaprasiththiskysmphthththirxyla 60 dngnn wkhsinikhhwdihycungimmiprasiththiskyetmrxyinkarpxngknorkh aetkplxdphyekuxbetmrxy aelakaridwkhsinkplxdphykwakarimid mingansuksathiihwkhsinaekxasasmkhr 2 058 khn rahwangeduxntulakhm phvscikayn 2005 karrabadkhxngikhhwdihytxmamirayayawaetrunaerngnxy iwrspraephth A H3N2 thikalngewiynipinklumprachakrthwipchwngnnkkhlaykbthiphbinwkhsinmak prasiththiskykhxngwkhsinechuxtaysahrbiwrsthiaeykidcakkarephaahruxkarrabuphan PCR xyuthirxyla 16 95 CI 171 70 aelathirxyla 54 95 CI 4 77 sahrbiwrsthiaeykidcakeluxdhruxradbsarphumitanthanodyechphaa antibody titer thisungkhun prasiththiskysmburnkhxngwkhsinthiechuxyngepnaetldvththiaelwsahrbwithikarwdechuxthngsxngxyangthiwanixyuthirxyla 8 95 CI 194 67 aelarxyla 43 95 CI 15 71 emuxtrwciwrsthiidcakeluxd wkhsinechuxtaycdwamiprasiththiskykhuxthaihphuidwkhsintidorkhikhhwdihynxyinpihnung wkhsinikhhwdihymiprasiththiphaphldkrniikhhwdihyodyechphaaemuxphyakrnsayphnthuikhhwdihythicaepnidthuktxngaelaechuxkracayipxyangkwangkhwang aetkmiprasiththiphaphnxykwaephuxldkrniecbpwythimixakarkhlayikhhwdihy influenza like illness aelamiphlnxytxewlakarthanganthiesiyip aelayngimmihlkthanphxephuxpraeminphawaaethrksxnechingxrrthaelaxangxingWeinburg G Szilagyi P 2010 Vaccine Epidemiology Efficacy Effectiveness and the Translational Research Roadmap Journal of Infectious Diseases 201 11 1607 1610 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Orenstein WA Bernier RH Dondero TJ Hinman AR Marks JS Bart KJ Sirotkin B 1985 Field evaluation of vaccine efficacy Bull World Health Organ 63 6 1055 68 PMC 2536484 PMID 3879673 Crislip 2009 cited Monto Arnold S Ohmit Suzanne E Petrie Joshua G Johnson Emileigh Truscon Rachel Teich Esther Rotthoff Judy Boulton Matthew Victor John C 2009 Comparative Efficacy of Inactivated and Live Attenuated Influenza Vaccines New England Journal of Medicine 361 13 1260 1267 doi 10 1056 NEJMoa0808652 ISSN 0028 4793 PMID 19776407 Crislip M 2009 10 09 Flu Vaccine Efficacy Science Based Medicine cakaehlngedimemux 2020 06 01 Crislip 2009 cited Ohmit Suzanne E Victor John C Teich Esther R Truscon Rachel K Rotthoff Judy R Newton Duane W Campbell Sarah A Boulton Matthew L Monto Arnold S 2008 Prevention of Symptomatic Seasonal Influenza in 2005 2006 by Inactivated and Live Attenuated Vaccines The Journal of Infectious Diseases 198 3 312 317 doi 10 1086 589885 ISSN 0022 1899 PMC 2613648 PMID 18522501