ธรรมชาติวิทยา หรือ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หมายถึงคำรวมที่ใช้เรียกสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปัจจุบันมองว่าเป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเฉพาะชัดเจน นิยามเกือบทั้งหมดรวมถึงการศึกษาสิ่งมีชีวิต (เช่น ชีววิทยา รวมทั้งพฤกษศาสตร์และสัตววิทยา) นิยามอื่นได้ขยายเนื้อหารวมไปถึง บรรพชีวินวิทยา นิเวศวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีวเคมี รวมทั้งธรณีวิทยาและฟิสิกส์ หรือแม้แต่อุตุนิยมวิทยา บุคคลผู้สนใจในธรรมชาติวิทยาเรียกว่า "นักธรรมชาติวิทยา"
ประวัติศาสตร์ของธรรมชาติวิทยา
ต้นตอของธรรมชาติวิทยาย้อนยาวไปถึงสมัยของ อริสโตเติลและนักปราชญ์โบราณคนอื่น ๆ ที่ได้วิเคราะห์ค้นหาความหลากหลายของธรรมชาติในโลก นับตั้งแต่กรีกโบราณมาจนถึงยุคของคาโรลัส ลินเนียส และนักธรรมชาติวิทยาสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 อีกหลายคน แนวคิดหลักที่ผูกกันไว้ก็คือ scala naturae หรือ"" ที่จัดรวมเอาแร่ธาตุ พืช สัตว์และสิ่งมีชีวิตชั้นสูงมาเรียงเป็นเส้นยาวแห่งการเพิ่ม "ความสมบูรณ์" ธรรมชาติวิทยามาหยุดนิ่งอยู่นานในยุคกลาง โดยเฉพาะเมื่อมีความพยายามเอางานของ อริสโตเติลมาผสมกับ โดยเฉพาะ โทมัส อควินัส ซึ่งได้กลายมาเป็นรูปพื้นฐานของวิชา (natural theology) ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา นักวิชาการ (โดยเฉพาะแพทย์สมุนไพร) ได้หันกลับไปสู่ธรรมชาติวิทยาด้วยการสังเกตการณ์กับต้นพืชและสัตว์โดยตรงอีกครั้งหนึ่ง และหลายคนเริ่มต้นการสะสมต้นไม้แปลก ๆ และสัตว์ประหลาดมากขึ้น การเพิ่มจำนวนของชนิดของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่มากขึ้นจนเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็วเป็นเหตุให้เกิดความพยายามในการจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธานที่ถึงจุดสูงสุดของระบบเป็นที่รู้จักกันดีว่า ""
ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 ย่างต่อเนื่องสู่ศตวรรษที่ 19 คำเรียกสาขา "ธรรมชาติวิทยา" หรือ "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ" ส่วนใหญ่ใช้หมายถึงบริบทที่เป็นการพรรณนาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติ ซึ่งตรงข้ามกับประวัติศาสตร์ด้านรัฐศาสตร์หรือด้านศาสนา ซึ่งเป็นน้ำหนักถ่วงดุลการศึกษาเชิงวิเคราะห์ด้านธรรมชาติ นั่นคือ "ปรัชญาธรรมชาติ" ซึ่งเนื้อหาวิชาจะรวมแนวคิดด้านฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ การใช้ในลักษณะกว้าง ๆ เช่นนี้ ก็ยังคงใช้กันอยู่ในบางสถาบัน เช่น พิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ และสมาคม โดยเริ่มต้นในยุโรป วิชาชีพเฉพาะต่าง ๆ เช่น สรีรวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ ธรณีวิทยา และต่อมาเกิดยังได้เกิดเป็นวิทยาเซลล์ (cytology) และคัพภวิทยา (embryology) ขึ้น
ธรรมชาติวิทยาเดิมเป็นวิชาหลักที่เปิดสอนเฉพาะในมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่นาน ๆ เข้าจึงได้กระจายออกมาสู่กิจกรรมของนักสะสมสมัครเล่นมากกว่าการเป็นวิทยาศาสตร์แท้ ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและอเมริกาที่งานในด้านนี้ขยายตัวอย่างรวดเร็วกลายเป็นงานอดิเรกเฉพาะชนิดมากขึ้น เช่นการศึกษาเรื่องนก ผีเสื้อและดอกไม้ป่า ในขณะเดียวกันนักวิทยาศาสตร์ก็ได้พยายามบ่งชี้สาขาวิชาชีววิทยาให้เด่นชัดและรวมกันให้เป็นตัวตนที่ชัดเจนขึ้น (แม้จะมีเพียงบางส่วนที่เป็นผลสำเร็จ แต่อย่างน้อย ๆ ก็ได้มาถึงขั้น "" (modern evolutionary synthesis) แต่ถึงกระนั้น ธรรมเนียมของธรรมชาติวิทยาก็ยังคงเล่นบทบาทของชีววิทยาเมื่อครั้งคริสต์ศตวรรษ 19 และ 20 อยู่ โดยเฉพาะเกี่ยวกับด้านนิเวศวิทยา พฤติกรรมวิทยา (ethology) และ
นักสะสมสมัครเล่นหลายคนและนักประกอบการทางธรรมชาติวิทยาหลายคนมีบทบาทสำคัญในการสร้างสถาบันสะสมธรรมชาติวิทยาขนาดใหญ่ โดยเฉพาะพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
คำว่า "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ" เป็นตัวลวงทำเกิดความเข้าใจผิดในชื่อของสถาบัน เช่น ฯลฯ รวมทั้ง ที่มักใช้ชื่อประกอบว่า "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ"
ประวัติศาสตร์
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติซึ่งมีวิวัฒนาการมากจาก "ห้องแห่งความอยากรู้อยากเห็น" (cabinets of curiosities) ของคนสมัยก่อนที่มีผลให้เกิดสาขาวิชาและการวิจัยเฉพาะทางชีววิทยาสมัยนั้นขึ้น โดยเฉพาะในช่วงศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์เริ่มใช้การสะสมทางประวัติศาสตร์ธรรมชาติมาเป็นชิ้นตัวอย่างในการเรียนการสอนนักศึกษาชั้นสูง รวมทั้งใช้ชิ้นสิ่งของสะสมที่หายากแต่มีสะสมไว้ครบมาเป็นวัสดุวิจัยด้านสัณฐานวิทยาของตัวเองด้วย พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติจึงเจริญก้าวหน้าขยายตัวเป็นที่แพร่หลายและยอมรับกันทั่วโลก
สมาคมธรรมชาติวิทยา
คำว่า "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ" เพียงคำเดียวได้ถูกนำไปใช้เป็นชื่อของ สมาคมประวัติศาสตร์ธรรมชาติ เป็นจำนวนมากทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่นที่มีเพียงการสะสมนก (ปักษีวิทยา) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แมลง (กีฏวิทยา) บ้างและพฤกษศาสตร์บ้าง รวมทั้งยังอาจมีส่วนที่ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์มองและส่วนธรณีวิทยา
ตัวอย่างของสมาคมต่าง ๆ เหล่านี้ในสหราชอาณาจักร ได้แก่สมาคมกีฏวิทยาและประวัติศาสตร์ธรรมชาติอังกฤษ ที่ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2415 สมาคมประวัติศาสตร์ธรรมชาติเบอร์มิงแฮม สมาคมประวัติศาสตร์ธรรมชาติกลาสโกว์ สมาคมประวัติศาสตร์ธรรมชาติลอนดอน สมาคมจุลชีวะและประวัติศาสตร์ธรรมชาติแมนเชสเตอร์เป็นต้น ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2443 ตัวกระตุ้นรุนแรงที่ทำให้เกิดการขยายตัวของสมาคมประเภทนี้เป็นอย่างมากนี้เกิดจากการที่อังกฤษมีอาณานิคมมากมายในเขตร้อน มีการค้นพบชนิดของสรรพสิ่งธรรมชาติใหม่ ๆ ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากมาย ข้าราชการในอาณานิคมจำนวนมากก็มีความสนใจในสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ จึงได้จัดเก็บตัวอย่างสิ่งธรรมชาติใหม่ ๆ จำนวนมหาศาลเหล่านั้นกลับไปมอบให้พิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ในประเทศของตน
อ้างอิง
- Kohler, Robert E. Landscapes and Labscapes: Exploring the Lab-Field Border in Biology. University of Chicago Press: Chicago, 2002.
- Mayr, Ernst. The Growth of Biological Thought: Diversity, Evolution, and Inheritance. The Belknap Press of Harvard University Press: Cambridge, Massachusetts, 1982.
- Rainger, Ronald; Keith R. Benson; and Jane Maienschein, editors. The American Development of Biology. University of Pennsylvania Press: Philadelphia, 1988.
- Witzany, Guenther. "Natural history of life: history of communication logics and dynamics". S.E.E.D. Journal 5:27-55, 2005.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Natural History Museum, London
- London Natural History Society
- Birmingham Natural History Society 2009-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Bombay Natural History Society, India
- Glasgow Natural History Society
- Manchester Microscopical & Natural History Society
- Sorby Natural History Society, Sheffield
- American Museum of Natural History, New York
- Burke Museum of Natural History and Culture, Seattle
- Field Museum of Natural History, Chicago
- Rhode Island Natural History Survey 2006-05-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Natural History New Zealand Ltd
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thrrmchatiwithya hrux prawtisastrthrrmchati hmaythungkharwmthiicheriyksrrphsingthnghlaythipccubnmxngwaepnsastrthangwithyasastrthimikhwamechphaachdecn niyamekuxbthnghmdrwmthungkarsuksasingmichiwit echn chiwwithya rwmthngphvkssastraelastwwithya niyamxunidkhyayenuxharwmipthung brrphchiwinwithya niewswithya darasastr hruxchiwekhmi rwmthngthrniwithyaaelafisiks hruxaemaetxutuniymwithya bukhkhlphusnicinthrrmchatiwithyaeriykwa nkthrrmchatiwithya prawtisastrthrrmchatiprawtisastrkhxngthrrmchatiwithyatntxkhxngthrrmchatiwithyayxnyawipthungsmykhxng xrisotetilaelankprachyobrankhnxun thiidwiekhraahkhnhakhwamhlakhlaykhxngthrrmchatiinolk nbtngaetkrikobranmacnthungyukhkhxngkhaorls lineniys aelankthrrmchatiwithyasmykhriststwrrsthi 18 xikhlaykhn aenwkhidhlkthiphukkniwkkhux scala naturae hrux thicdrwmexaaerthatu phuch stwaelasingmichiwitchnsungmaeriyngepnesnyawaehngkarephim khwamsmburn thrrmchatiwithyamahyudningxyunaninyukhklang odyechphaaemuxmikhwamphyayamexangankhxng xrisotetilmaphsmkb odyechphaa othms xkhwins sungidklaymaepnrupphunthankhxngwicha natural theology inyukhfunfusilpwithya nkwichakar odyechphaaaephthysmuniphr idhnklbipsuthrrmchatiwithyadwykarsngektkarnkbtnphuchaelastwodytrngxikkhrnghnung aelahlaykhnerimtnkarsasmtnimaeplk aelastwprahladmakkhun karephimcanwnkhxngchnidkhxngsingmichiwittang thimakkhuncnepnthiruckxyangrwderwepnehtuihekidkhwamphyayaminkarcdhmwdhmuxnukrmwithanthithungcudsungsudkhxngrabbepnthiruckkndiwa inchwngrahwangkhriststwrrsthi 18 yangtxenuxngsustwrrsthi 19 khaeriyksakha thrrmchatiwithya hrux prawtisastrthrrmchati swnihyichhmaythungbribththiepnkarphrrnnawadwykarsuksathrrmchati sungtrngkhamkbprawtisastrdanrthsastrhruxdansasna sungepnnahnkthwngdulkarsuksaechingwiekhraahdanthrrmchati nnkhux prchyathrrmchati sungenuxhawichacarwmaenwkhiddanfisiks darasastr obrankhdi l karichinlksnakwang echnni kyngkhngichknxyuinbangsthabn echn phiphithphnthtang aelasmakhm odyerimtninyuorp wichachiphechphaatang echn srirwithya phvkssastr stwsastr thrniwithya aelatxmaekidyngidekidepnwithyaesll cytology aelakhphphwithya embryology khun thrrmchatiwithyaedimepnwichahlkthiepidsxnechphaainmhawithyalyodyxacarythangwithyasastrethann aetnan ekhacungidkracayxxkmasukickrrmkhxngnksasmsmkhrelnmakkwakarepnwithyasastraeth makkhun odyechphaainshrachxanackraelaxemrikathinganindannikhyaytwxyangrwderwklayepnnganxdierkechphaachnidmakkhun echnkarsuksaeruxngnk phiesuxaeladxkimpa inkhnaediywknnkwithyasastrkidphyayambngchisakhawichachiwwithyaihednchdaelarwmknihepntwtnthichdecnkhun aemcamiephiyngbangswnthiepnphlsaerc aetxyangnxy kidmathungkhn modern evolutionary synthesis aetthungkrann thrrmeniymkhxngthrrmchatiwithyakyngkhngelnbthbathkhxngchiwwithyaemuxkhrngkhriststwrrs 19 aela 20 xyu odyechphaaekiywkbdanniewswithya phvtikrrmwithya ethology aela nksasmsmkhrelnhlaykhnaelankprakxbkarthangthrrmchatiwithyahlaykhnmibthbathsakhyinkarsrangsthabnsasmthrrmchatiwithyakhnadihy odyechphaaphiphithphnththrrmchatiwithyaphiphithphnththrrmchatiwithyakhawa prawtisastrthrrmchati epntwlwngthaekidkhwamekhaicphidinchuxkhxngsthabn echn l rwmthng thimkichchuxprakxbwa prawtisastrthrrmchati prawtisastrphiphithphnthprawtisastrthrrmchatisungmiwiwthnakarmakcak hxngaehngkhwamxyakruxyakehn cabinets of curiosities khxngkhnsmykxnthimiphlihekidsakhawichaaelakarwicyechphaathangchiwwithyasmynnkhun odyechphaainchwngstwrrsthi 19 nkwithyasastrerimichkarsasmthangprawtisastrthrrmchatimaepnchintwxyanginkareriynkarsxnnksuksachnsung rwmthngichchinsingkhxngsasmthihayakaetmisasmiwkhrbmaepnwsduwicydansnthanwithyakhxngtwexngdwy phiphithphnthprawtisastrthrrmchaticungecriykawhnakhyaytwepnthiaephrhlayaelayxmrbknthwolksmakhmthrrmchatiwithyakhawa prawtisastrthrrmchati ephiyngkhaediywidthuknaipichepnchuxkhxng smakhmprawtisastrthrrmchati epncanwnmakthnginradbchati radbphumiphakh aelaradbthxngthinthimiephiyngkarsasmnk pksiwithya stweliynglukdwynm aemlng kitwithya bangaelaphvkssastrbang rwmthngyngxacmiswnthitxngichklxngculthrrsnmxngaelaswnthrniwithya twxyangkhxngsmakhmtang ehlaniinshrachxanackr idaeksmakhmkitwithyaaelaprawtisastrthrrmchatixngkvs thikxtngemux ph s 2415 smakhmprawtisastrthrrmchatiebxrmingaehm smakhmprawtisastrthrrmchatiklasokw smakhmprawtisastrthrrmchatilxndxn smakhmculchiwaaelaprawtisastrthrrmchatiaemnechsetxrepntn sungkxtngmatngaet ph s 2443 twkratunrunaerngthithaihekidkarkhyaytwkhxngsmakhmpraephthniepnxyangmakniekidcakkarthixngkvsmixananikhmmakmayinekhtrxn mikarkhnphbchnidkhxngsrrphsingthrrmchatiihm thiyngimepnthiruckmakmay kharachkarinxananikhmcanwnmakkmikhwamsnicinsingaewdlxmihm cungidcdekbtwxyangsingthrrmchatiihm canwnmhasalehlannklbipmxbihphiphithphnthtang inpraethskhxngtnxangxingKohler Robert E Landscapes and Labscapes Exploring the Lab Field Border in Biology University of Chicago Press Chicago 2002 Mayr Ernst The Growth of Biological Thought Diversity Evolution and Inheritance The Belknap Press of Harvard University Press Cambridge Massachusetts 1982 Rainger Ronald Keith R Benson and Jane Maienschein editors The American Development of Biology University of Pennsylvania Press Philadelphia 1988 Witzany Guenther Natural history of life history of communication logics and dynamics S E E D Journal 5 27 55 2005 duephimthrrmchatiaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb thrrmchatiwithya Natural History Museum London London Natural History Society Birmingham Natural History Society 2009 11 28 thi ewyaebkaemchchin Bombay Natural History Society India Glasgow Natural History Society Manchester Microscopical amp Natural History Society Sorby Natural History Society Sheffield American Museum of Natural History New York Burke Museum of Natural History and Culture Seattle Field Museum of Natural History Chicago Rhode Island Natural History Survey 2006 05 07 thi ewyaebkaemchchin Natural History New Zealand Ltd