ปฏิญญาชูมาน เป็นปฏิญญาที่ประกาศเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1950 โดยเป็นข้อเสนอของรัฐบาลฝรั่งเศส จากรอแบร์ ชูมาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ให้จัดตั้งประชาคมรูปแบบใหม่ที่มีอำนาจบริหารจัดการปัญหาในระดับนานาชาติได้ กล่าวคือเป็นองค์กรที่อำนาจมากกว่ารัฐบาลของแต่ละชาติ เนื่องมาจากประสบการณ์ของสงครามโลกทั้งสองครั้งทำให้ฝรั่งเศสตระหนักว่าบางสิ่งบางอย่าง เช่น ความยุติธรรม ไม่สามารถถูกกำหนดได้โดยอำนาจของรัฐใดรัฐหนึ่งเพียงลำพัง โดยปฏิญญานี้นำไปสู่การจัดตั้งองค์กรระดับนานาชาติที่มีอำนาจควบคุมดูแลอุตสาหกรรมถ่านหินและเหล็กกล้าในฝรั่งเศส เยอรมนีตะวันตก และประเทศอื่น ๆ เรียกกันว่า (ECSC) และนำไปสู่การปรับโครงสร้างของการบริหาร และเป็นจุดเริ่มต้นขององค์กรที่คล้ายคลึงกันหลายองค์กรในยุโรป ซึ่งต่อมาได้พัฒนาจนกลายเป็นสหภาพยุโรปในปัจจุบัน โดยเหตุการณ์นี้ได้ถูกเฉลิมฉลองทุกปีในฐานะที่เป็น วันยุโรป และชูมานเองก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปอีกด้วย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ptiyyachuman epnptiyyathiprakasemuxwnthi 9 phvsphakhm kh s 1950 odyepnkhxesnxkhxngrthbalfrngess cakrxaebr chuman rthmntriwakarkrathrwngkartangpraethsinkhnann ihcdtngprachakhmrupaebbihmthimixanacbriharcdkarpyhainradbnanachatiid klawkhuxepnxngkhkrthixanacmakkwarthbalkhxngaetlachati enuxngmacakprasbkarnkhxngsngkhramolkthngsxngkhrngthaihfrngesstrahnkwabangsingbangxyang echn khwamyutithrrm imsamarththukkahndidodyxanackhxngrthidrthhnungephiynglaphng odyptiyyaninaipsukarcdtngxngkhkrradbnanachatithimixanackhwbkhumduaelxutsahkrrmthanhinaelaehlkklainfrngess eyxrmnitawntk aelapraethsxun eriykknwa ECSC aelanaipsukarprbokhrngsrangkhxngkarbrihar aelaepncuderimtnkhxngxngkhkrthikhlaykhlungknhlayxngkhkrinyuorp sungtxmaidphthnacnklayepnshphaphyuorpinpccubn odyehtukarnniidthukechlimchlxngthukpiinthanathiepn wnyuorp aelachumanexngkidrbkarykyxngwaepnhnunginphukxtngshphaphyuorpxikdwy bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk