ปฏิกิริยาเบลูซอฟจาโบทินสกี (อังกฤษ: Belousov–Zhabotinsky reaction) หรือ ปฏิกิริยาบีซี (อังกฤษ: BZ reaction) คือ หนึ่งในกลุ่มของปฏิกิริยาที่เป็นตัวอย่างดังเดิมของอุณหพลศาสตร์แบบไม่สมดุล (non-equilibrium thermodynamics) ซึ่งทำให้เกิดตัวแกว่งสารเคมีไม่เชิงเส้น (nonlinear chemical oscillator) โดยธาติที่มีส่วนในระบบการแกว่งนี้มีเพียงโบรมีนและกรดเท่านั้น ปฏิกิริยานี้มีความสำคัญด้วยความที่ทำให้เห็นว่าปฏิกิริยาทางเคมีนั้นไม่จำเป็นต้องมีพฤติกรรมแบบอุณหพลศาสตร์แบบสมดุล ปฏิกิริยาเหล่านี้นั้นไกลจากความสมดุลและมีการเปลี่ยนแปลงแบบอลวนในระยะเวลาหนึ่ง เพราะอย่างนี้ ปฏิกิริยานี้จึงเป็นต้นแบบทางเคมีที่น่าสนใจของปรากฏการณ์ทางชีววิทยาแบบไม่สมดุล อีกทั้งต้นแบบทางคณิตศาสตร์ของปฏิกิริยาบีซีเองยังเป็นทฤษฎีและการจำลองที่น่าสนใจ
มุมมองที่สำคัญมุมหนึ่งของปฏิกิริยาบีซีคือความสามารถในการ "ถูกกระตุ้น" ภายใต้ตัวกระตุ้น ส่งผลให้เกิดรูปแบบบนตัวกลางที่เคยอยู่อย่างสงบ
ความเป็นมา
การค้นพบของปรากฏการณ์นี้ถูกยกให้กับ บอริส เบลูซอฟ เค้ากล่าวว่า ประมาณช่วงปี พ.ศ. 2493-2503 (แหล่งข่าวได้ระบุวันที่ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2494 ถึง 2501) การผสมโพแทสเซียมโบรเมต ซีเรียม(IV) ซัลเฟต กรดมาโลนิก และกรดซิตริก ในกรดซัลฟิวริกที่ถูกเจือจาง อัตราส่วนของความเข้มข้นของอิออนของซีเรียม(IV)และซีเรียม(III) นั้นแกว่งไปมา ทำให้สีของสารละลายแกว่งไปมาระหว่างสีเหลืองและสีใส สิ่งนี้เกิดจากการที่อิออนของซีเรียม(IV) ถูกรีดิวซ์โดยกรดมาโลนิก จนกลายเป็นซีเรียม(III) ซึ่งถูกออกซิไดซ์โดยอิออนของโบรเมต(V)
เบลูซอฟได้พยายามที่จะตีพิมพ์ผลที่เค้าพบถึงสองครั้ง ทว่ากลัวถูกปฏิเสธด้วยความที่เค้าไม่สามารถอธิบายผลของตัวเองได้เพียงพอที่บรรณาธิการของวารสารที่เค้าส่งจะพอใจ จากนั้นนักชีวเคมีชาวโซเวียต ไซม่อน เอลเลวิช ชโนลล์ สนับสนุนให้เบลูซอฟสืบต่อความพยายามที่จะตีพิมพ์ผลงานของเขา ท้ายที่สุดผลงานของเขาก็ได้ตีพิมพ์บนวารสารที่ไม่มีชื่อเสียงและไร้การตรวจทาน
หลักจากการตีพิมพ์ของเบลูซอฟ ชโนลล์ส่งโปรเจ็คต่อในปี 2504 แก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่ชื่อว่า อนาตอล จาโบทินสกี ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบลำดับของปฏิกิริยาอย่างละเอียด แต่ทว่า ผลของงานนี้ยังไม่ได้เป็นที่รู้จักจนกระทั่งมีการสัมมนาทีปราก ในปี พ.ศ. 2511
กลไกทางเคมี
กลไกของปฏิกิริยานี้มีความซับซ้อนเป็นอย่างมากและหลายงานวิจัยคาดว่าจะประกอบไปด้วย 18 ขั้นตอนที่แตกต่างกัน
หนึ่งในรูปแบบของอื่นของปฏิกิริยานี้ที่เป็นที่นิยมใช้กรดมาโลนิก (CH2(CO2H)2) เป็นกรด และโพแทสเซียมโบรเมต(KBrO3) เป็นตัวให้โบรมีน โดยมีสมการรวมว่า
- 3CH2(CO2H)2 + 4BrO3 → 4Br− + 9CO2 + 6H2O
อ้างอิง
- Zhang, Dongmei; Györgyi, László; Peltier, William R. (1993). "Deterministic chaos in the Belousov–Zhabotinsky reaction: Experiments and simulations". Chaos: an Interdisciplinary Journal of Nonlinear Science. 3 (4): 723–745. Bibcode:1993Chaos...3..723Z. doi:10.1063/1.165933. PMID 12780076.
- Winfree, A. T. (1984). "The Prehistory of the Belousov-Zhabotinsky Oscillator" (PDF). . 61: 661–663. Bibcode:1984JChEd..61..661W. doi:10.1021/ed061p661.
- B. P. Belousov (1959). "Периодически действующая реакция и ее механизм" [Periodically acting reaction and its mechanism]. Сборник рефератов по радиационной медицине. 147: 145.
- A. M. Zhabotinsky (1964). "Периодический процесс окисления малоновой кислоты растворе" [Periodical process of oxidation of malonic acid solution]. Биофизика. 9: 306–311.
- Field, Richard J.; Foersterling, Horst Dieter (1986). "On the oxybromine chemistry rate constants with cerium ions in the Field-Koeroes-Noyes mechanism of the Belousov-Zhabotinskii reaction: The equilibrium HBrO2 + BrO3- + H+ .dblharw. 2BrO.ovrhdot.2 + H2O". The Journal of Physical Chemistry. 90 (21): 5400–7. doi:10.1021/j100412a101.
- Sirimungkala, Atchara; Försterling, Horst-Dieter; Dlask, Vladimir; Field, Richard J. (1999). "Bromination Reactions Important in the Mechanism of the Belousov−Zhabotinsky System". The Journal of Physical Chemistry A. 103 (8): 1038–43. doi:10.1021/jp9825213.
- Lister, Ted (1995). Classic Chemistry Demonstrations (PDF). London: Education Division, The Royal Society of Chemistry. pp. 3–4. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ptikiriyaeblusxfcaobthinski xngkvs Belousov Zhabotinsky reaction hrux ptikiriyabisi xngkvs BZ reaction khux hnunginklumkhxngptikiriyathiepntwxyangdngedimkhxngxunhphlsastraebbimsmdul non equilibrium thermodynamics sungthaihekidtwaekwngsarekhmiimechingesn nonlinear chemical oscillator odythatithimiswninrabbkaraekwngnimiephiyngobrminaelakrdethann ptikiriyanimikhwamsakhydwykhwamthithaihehnwaptikiriyathangekhminnimcaepntxngmiphvtikrrmaebbxunhphlsastraebbsmdul ptikiriyaehlaninniklcakkhwamsmdulaelamikarepliynaeplngaebbxlwninrayaewlahnung ephraaxyangni ptikiriyanicungepntnaebbthangekhmithinasnickhxngpraktkarnthangchiwwithyaaebbimsmdul xikthngtnaebbthangkhnitsastrkhxngptikiriyabisiexngyngepnthvsdiaelakarcalxngthinasnickarcalxngptikiriyaeblusxfcaobthinskibncanephaaechuxodykhxmphiwetxrphlxtkhxngskyiffaxielkhotrdkhxngptikiriyabisi odyichelkhotrdenginkb Ag AgNO3 khrungesll mummxngthisakhymumhnungkhxngptikiriyabisikhuxkhwamsamarthinkar thukkratun phayittwkratun sngphlihekidrupaebbbntwklangthiekhyxyuxyangsngb khwamepnmaswnprakxbptikiriyabisithithukphsmepliynsitamewla karkhnphbkhxngpraktkarnnithukykihkb bxris eblusxf ekhaklawwa pramanchwngpi ph s 2493 2503 aehlngkhawidrabuwnthitngaetchwngpi ph s 2494 thung 2501 karphsmophaethsesiymobremt sieriym IV sleft krdmaolnik aelakrdsitrik inkrdslfiwrikthithukecuxcang xtraswnkhxngkhwamekhmkhnkhxngxixxnkhxngsieriym IV aelasieriym III nnaekwngipma thaihsikhxngsarlalayaekwngipmarahwangsiehluxngaelasiis singniekidcakkarthixixxnkhxngsieriym IV thukridiwsodykrdmaolnik cnklayepnsieriym III sungthukxxksiidsodyxixxnkhxngobremt V eblusxfidphyayamthicatiphimphphlthiekhaphbthungsxngkhrng thwaklwthukptiesthdwykhwamthiekhaimsamarthxthibayphlkhxngtwexngidephiyngphxthibrrnathikarkhxngwarsarthiekhasngcaphxic caknnnkchiwekhmichawosewiyt ismxn exlelwich chonll snbsnuniheblusxfsubtxkhwamphyayamthicatiphimphphlngankhxngekha thaythisudphlngankhxngekhakidtiphimphbnwarsarthiimmichuxesiyngaelairkartrwcthan hlkcakkartiphimphkhxngeblusxf chonllsngopreckhtxinpi 2504 aeknksuksabnthitsuksathichuxwa xnatxl caobthinski sungepnphutrwcsxbladbkhxngptikiriyaxyanglaexiyd aetthwa phlkhxngnganniyngimidepnthiruckcnkrathngmikarsmmnathiprak inpi ph s 2511klikthangekhmiklikkhxngptikiriyanimikhwamsbsxnepnxyangmakaelahlaynganwicykhadwacaprakxbipdwy 18 khntxnthiaetktangkn hnunginrupaebbkhxngxunkhxngptikiriyanithiepnthiniymichkrdmaolnik CH2 CO2H 2 epnkrd aelaophaethsesiymobremt KBrO3 epntwihobrmin odymismkarrwmwa 3CH2 CO2H 2 4BrO3 4Br 9CO2 6H2OxangxingZhang Dongmei Gyorgyi Laszlo Peltier William R 1993 Deterministic chaos in the Belousov Zhabotinsky reaction Experiments and simulations Chaos an Interdisciplinary Journal of Nonlinear Science 3 4 723 745 Bibcode 1993Chaos 3 723Z doi 10 1063 1 165933 PMID 12780076 Winfree A T 1984 The Prehistory of the Belousov Zhabotinsky Oscillator PDF 61 661 663 Bibcode 1984JChEd 61 661W doi 10 1021 ed061p661 B P Belousov 1959 Periodicheski dejstvuyushaya reakciya i ee mehanizm Periodically acting reaction and its mechanism Sbornik referatov po radiacionnoj medicine 147 145 A M Zhabotinsky 1964 Periodicheskij process okisleniya malonovoj kisloty rastvore Periodical process of oxidation of malonic acid solution Biofizika 9 306 311 Field Richard J Foersterling Horst Dieter 1986 On the oxybromine chemistry rate constants with cerium ions in the Field Koeroes Noyes mechanism of the Belousov Zhabotinskii reaction The equilibrium HBrO2 BrO3 H dblharw 2BrO ovrhdot 2 H2O The Journal of Physical Chemistry 90 21 5400 7 doi 10 1021 j100412a101 Sirimungkala Atchara Forsterling Horst Dieter Dlask Vladimir Field Richard J 1999 Bromination Reactions Important in the Mechanism of the Belousov Zhabotinsky System The Journal of Physical Chemistry A 103 8 1038 43 doi 10 1021 jp9825213 Lister Ted 1995 Classic Chemistry Demonstrations PDF London Education Division The Royal Society of Chemistry pp 3 4 ISBN 978 1 870343 38 1