ยานอวกาศบูรัน (รัสเซีย: Бура́н, "พายุหิมะ"; อังกฤษ: Buran) เป็นพาหนะในวงโคจรของสหภาพโซเวียต/รัสเซีย ที่มีการทำงานและการออกแบบคล้ายคลึงกับกระสวยอวกาศของสหรัฐ และพัฒนาโดยหัวหน้านักออกแบบ เกลบ โลซีโน-โลซินสกี (Глеб Евгеньевич Лозино-Лозинский) แห่งบริษัทจรวดเอเนร์เกีย (Энергия) บูรันเป็นพาหนะกระสวยอวกาศจากโครงการบูรันของโซเวียตที่ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศก่อนโครงการปิดตัวลง บูรันประสบความสำเร็จในเที่ยวบินไร้คนบังคับครั้งหนึ่งใน ค.ศ. 1988 ก่อนที่โครงการจะถูกยกเลิกใน ค.ศ. 1993 ต่อมาใน ค.ศ. 2002 บูรันถูกทำลายเมื่อโรงจอดที่เก็บยานที่ท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ถล่มลงมา
บูรันบนแท่นปล่อย 110/37 | |
ประเทศ | สหภาพโซเวียต |
---|---|
ตั้งชื่อตาม | "พายุหิมะ" |
สถานะ | ปลดประจำการ, ถูกทำลายใน ค.ศ. 2002 |
บินครั้งแรก | 1K1 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 |
บินครั้งสุดท้าย | 1K1 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 |
สถิติภารกิจ | 1 |
ลูกเรือ | 0 |
สถิติวันที่บิน | 3 ชั่วโมง |
สถิติโคจร | 2 |
การปล่อยขึ้นสู่อวกาศ
การปล่อยบูรันขึ้นสู่วงโคจรครั้งแรกและครั้งเดียวนั้นเกิดขึ้นเมื่อเวลา 3:00 UTC ของวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 จากท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์จุดปล่อยที่ 110/37 มันถูกยกขึ้นสู่วงโคจรอย่างไร้คนบังคับ โดยจรวดเอเนร์เกียที่ได้รับการออกแบบพิเศษ ซึ่งจนถึงปัจจุบันนี้ เป็นจรวดขนาดใหญ่ที่สุดที่ขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงเหลว ไม่เหมือนกับกระสวยอวกาศ ซึ่งขับเคลื่อนด้วยบูสเตอร์ของแข็งและเครื่องยนต์เชื้อเพลิงเหลวของตัวกระสวยเอง ซึ่งนำเชื้อเพลิงมาจากถังเชื้อเพลิงขนาดใหญ่ ระบบเอเนร์เกีย-บูรันใช้เฉพาะแรงผลักดันจากจรวดเครื่องยนต์เชื้อเพลิงเหลว RD สี่เครื่อง ซึ่งพัฒนาโดย นับแต่ต้น บูรันตั้งใจให้ใช้ได้ทั้งในโหมดอัตโนมัติและมีคนบังคับ แม้โครงการจะประสบความล้าช้าหลายปี บูรันเป็นเพียงกระสวยอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยประสบความสำเร็จในเที่ยวบินไร้คนบังคับในโหมดอัตโนมัติสมบูรณ์ จนกระทั่งวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 2010 เมื่อกองทัพอากาศสหรัฐปล่อยเครื่องบินอวกาศโบอิง ลำดับการปล่อยอัตโนมัติดำเนินไปตามที่กำหนด และจรวดเอเนร์เกียยกยานขึ้นสู่วงโคจรชั่วคราวก่อนที่ส่วนโคจรจะแยกตัวออกตามที่ตั้งโปรแกรมไว้ หลังส่งตัวเองขึ้นสู่วงโคจรชั้นสูงกว่าและเสร็จสิ้นการโคจรรอบโลกสองรอบ เครื่องยนต์ของระบบควบคุมเครื่องยนต์ (ODU) จุดตัวเองอัตโนมัติเพื่อเริ่มกลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ หลังภารกิจเริ่ม 206 นาที ส่วนโคจรของบูรันลงจอด โดยเสียฉนวนกันความร้อน (thermal tile) ไปเพียง 5 แผ่น จาก 38,000 แผ่นตลอดช่วงการบิน การลงจอดอัตโนมัติเกิดขึ้นที่ลานวิ่งของท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ ที่ซึ่ง แม้จะมีความเร็วลมด้านข้าง 61.2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ยานสามารถลงจอดโดยคลาดเคลื่อนจากจุดเป้าหมายไปด้านข้างเพียง 3 เมตร และด้านยาวเพียง 10 เมตร เที่ยวบินไร้คนบังคับนี้เป็นครั้งแรกที่ยานอวกาศขนาดนี้และความซับซ้อนระดับนี้ ปล่อยขึ้นสู่อวกาศ เสร็จสิ้นการทดสอบในวงโคจร กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศอีกครั้ง และลงจอดภายใต้การควบคุมอัตโนมัติ
อ้างอิง
- . NASA. 12 November 1997. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-08-04. สืบค้นเมื่อ 2006-08-15.; Buran ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (archived มกราคม 28, 2008).
- Buran, Russian Space Web.
- Chertok, Boris (2005). Asif A. Siddiqi (บ.ก.). Raketi i lyudi [Rockets and People] (PDF). NASA History Series. p. 179. สืบค้นเมื่อ 2006-07-03.
แหล่งข้อมูลอื่น
- «Буран» и другие многоразовые транспортные космические системы // buran.ru - ประวัติ, เอกสาร, ข้อมูลจำเพาะ, บทสัมภาษณ์, ภาพถ่ายหายาก, หนังสือ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yanxwkasburn rsesiy Bura n phayuhima xngkvs Buran epnphahnainwngokhcrkhxngshphaphosewiyt rsesiy thimikarthanganaelakarxxkaebbkhlaykhlungkbkraswyxwkaskhxngshrth aelaphthnaodyhwhnankxxkaebb eklb olsion olsinski Gleb Evgenevich Lozino Lozinskij aehngbristhcrwdexenrekiy Energiya burnepnphahnakraswyxwkascakokhrngkarburnkhxngosewiytthithuksngkhunsuxwkaskxnokhrngkarpidtwlng burnprasbkhwamsaercinethiywbinirkhnbngkhbkhrnghnungin kh s 1988 kxnthiokhrngkarcathukykelikin kh s 1993 txmain kh s 2002 burnthukthalayemuxorngcxdthiekbyanthithaxwkasyanbyokengxrthlmlngmaburn Buranburnbnaethnplxy 110 37praeths shphaphosewiyttngchuxtam phayuhima sthanapldpracakar thukthalayin kh s 2002binkhrngaerk1K1 15 phvscikayn kh s 1988binkhrngsudthay1K1 15 phvscikayn kh s 1988sthitipharkic1lukerux0sthitiwnthibin3 chwomngsthitiokhcr2karplxykhunsuxwkaskarplxyburnkhunsuwngokhcrkhrngaerkaelakhrngediywnnekidkhunemuxewla 3 00 UTC khxngwnthi 15 phvscikayn kh s 1988 cakthaxwkasyanbyokengxrcudplxythi 110 37 mnthukykkhunsuwngokhcrxyangirkhnbngkhb odycrwdexenrekiythiidrbkarxxkaebbphiess sungcnthungpccubnni epncrwdkhnadihythisudthikhbekhluxndwyechuxephlingehlw imehmuxnkbkraswyxwkas sungkhbekhluxndwybusetxrkhxngaekhngaelaekhruxngyntechuxephlingehlwkhxngtwkraswyexng sungnaechuxephlingmacakthngechuxephlingkhnadihy rabbexenrekiy burnichechphaaaerngphlkdncakcrwdekhruxngyntechuxephlingehlw RD siekhruxng sungphthnaody nbaettn burntngicihichidthnginohmdxtonmtiaelamikhnbngkhb aemokhrngkarcaprasbkhwamlachahlaypi burnepnephiyngkraswyxwkasephiynglaediywthiekhyprasbkhwamsaercinethiywbinirkhnbngkhbinohmdxtonmtismburn cnkrathngwnthi 22 emsayn kh s 2010 emuxkxngthphxakasshrthplxyekhruxngbinxwkasobxing ladbkarplxyxtonmtidaeniniptamthikahnd aelacrwdexenrekiyykyankhunsuwngokhcrchwkhrawkxnthiswnokhcrcaaeyktwxxktamthitngopraekrmiw hlngsngtwexngkhunsuwngokhcrchnsungkwaaelaesrcsinkarokhcrrxbolksxngrxb ekhruxngyntkhxngrabbkhwbkhumekhruxngynt ODU cudtwexngxtonmtiephuxerimklbekhasuchnbrryakas hlngpharkicerim 206 nathi swnokhcrkhxngburnlngcxd odyesiychnwnknkhwamrxn thermal tile ipephiyng 5 aephn cak 38 000 aephntlxdchwngkarbin karlngcxdxtonmtiekidkhunthilanwingkhxngthaxwkasyanbyokengxr thisung aemcamikhwamerwlmdankhang 61 2 kiolemtrtxchwomng yansamarthlngcxdodykhladekhluxncakcudepahmayipdankhangephiyng 3 emtr aeladanyawephiyng 10 emtr ethiywbinirkhnbngkhbniepnkhrngaerkthiyanxwkaskhnadniaelakhwamsbsxnradbni plxykhunsuxwkas esrcsinkarthdsxbinwngokhcr klbekhasuchnbrryakasxikkhrng aelalngcxdphayitkarkhwbkhumxtonmtixangxing NASA 12 November 1997 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 08 04 subkhnemux 2006 08 15 Buran thi ewyaebkaemchchin archived mkrakhm 28 2008 Buran Russian Space Web Chertok Boris 2005 Asif A Siddiqi b k Raketi i lyudi Rockets and People PDF NASA History Series p 179 subkhnemux 2006 07 03 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb burn Buran i drugie mnogorazovye transportnye kosmicheskie sistemy buran ru prawti exksar khxmulcaephaa bthsmphasn phaphthayhayak hnngsux