บาลานซ์ สกอร์การ์ด (balanced scorecard) เป็นเทคนิควิธีในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร
ประวัติ
ในอดีตที่ผ่านมามีบริษัทยักษ์ใหญ่มากมายหลายบริษัท เช่น AT&T และ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ต้องประสบปัญหา และกลายสภาพไปเป็นบริษัทที่ไม่ยิ่งใหญ่เหมือนเดิมในปัจจุบัน เนื่องจากสาเหตุที่พอสรุปได้ดังนี้
- มั่นใจในระบบการทำงานของบริษัทแบบเดิมมากเกินไป
- ฐานะการเงินของบริษัทในช่วงรุ่งเรืองนั้นยังดีอยู่มาก จึงไม่ตระหนักว่าบริษัทกำลังดำเนินไปในทางที่ตกต่ำลง
- ไม่รู้จักเพิ่มเติม, ปรับปรุง และนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น ระบบสารสนเทศ มาใช้ในบริษัท
เนื่องจากมีเหตุการณ์ประเภทนี้เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า ในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ดร. Kaplan และ Norton (จาก Harvard Business School) จึงตระหนักว่า เครื่องมือที่ใช้วัดประสิทธิภาพของบริษัทแบบเก่า ๆ นั้น มีจุดอ่อนและกำกวม (เช่น ดูแต่ตัวเลขสถานะการเงินของบริษัท ซึ่งเป็นแค่มุมเดียวของความสำเร็จของบริษัท และมักเป็นจากอดีต ไม่ได้แสดงถึงศักยภาพและแนวโน้มบริษัทในอนาคต) ทั้งสองจึงได้พยายามคิดค้นเครื่องมือใหม่ ที่ช่วยให้ผู้บริหารของบริษัทเข้าใจสถานะของบริษัทในหลาย ๆ มุมมองได้อย่างถูกต้องและกระชับ ซึ่งเครื่องมือใหม่ที่ว่าก็คือ บาลานซ์ สกอร์การ์ด (Balanced Scorecard) นี่เอง คือจะพยายามถ่วงดุลของบริษัทในทุก ๆ ด้าน เพื่อความสำเร็จอย่างยั่งยืนทั้งปัจจุบันและอนาคต เนื่องจากสภาวะแวดล้อมทางการแข่งขันที่รุนแรงในปัจจุบัน บาลานซ์ สกอร์การ์ดซึ่งเป็นเครื่องมือในการจัดการแบบใหม่ จึงเป็นแนวคิดที่เป็นประโยชน์อย่างมากในการบริหารองค์กร
คุณสมบัติ
บาลานซ์ สกอร์การ์ด จะวัดศักยภาพของบริษัทใน 4 ด้าน (การเลือกที่จะวัดอะไร, อย่างไร และมีเป้าหมายคืออะไร เป็นหน้าที่ของผู้บริหารและที่ปรึกษา)
- แง่มุมด้านการเงิน (The Financial Perspective) เป็นตัวชี้วัดที่ผู้บริหารคุ้นเคยดี เช่น อัตราส่วนทางการเงิน, ลูกหนี้,
- แง่มุมด้าน (The Customer Perspective) ดูสิ่งที่มีผลกระทบต่อลูกค้าโดยตรง เช่น เวลาเฉลี่ยในการให้บริการลูกค้า, อันดับของบริษัท ถ้าเรียงจากความพอใจของลูกค้า หรือเรียงจากการตำหนิของลูกค้า
- แง่มุมด้านกระบวนการและประสิทธิภาพการทำงาน (The Business Process/Internal Operations Perspective) ดูสิ่งที่มีผลกระทบต่อกระบวนการทำงานภายในธุรกิจ เช่น เวลาเฉลี่ยที่ต้องใช้ในการทำงานแต่ละอย่าง, จำนวนงานที่ต้องทำใหม่, ความสำเร็จในการบุกเบิกธุรกิจใหม่ ๆ
- แง่มุมด้านการการเรียนรู้และเติบโต (The Learning and Growth Perspective) เช่น รายได้จากสินค้าใหม่ ๆ, การมีส่วนร่วมของพนักงานในการให้ข้อเสนอแนะ, การฝึกอบรมพนักงาน
ประโยชน์
- ในแง่ตัวเลขวัดประสิทธิภาพ, ช่วยให้บริษัทได้ตั้งเป้าหมายได้อย่างเป็นรูปธรรม (เช่น ปีนี้ต้องมีลูกค้าเฉลี่ยอย่างต่ำ 28.87 คนต่อวัน) และตรวจสอบศักยภาพปัจจุบันว่าใกล้เคียงเป้าหมายมากน้อยเพียงใด
- ได้เห็นถึงความสัมพันธ์ (correlation) ของมุมมองต่าง ๆ ของบริษัท เช่น ถ้าตัวเลขด้าน internal operations สูง จะทำให้ ตัวเลขด้าน customer สูงไปด้วย
- ความสัมพันธ์ในมุมมองต่าง ๆ ช่วยให้เราได้ไอเดียใหม่ ๆ ในเป้าหมาย และแผนใหม่ ๆ ของบริษัท ทั้งนี้ยังช่วยให้เราวางเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาวได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- http://www.balancedscorecard.org/basics/bsc1.html เก็บถาวร 2006-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
balans skxrkard balanced scorecard epnethkhnikhwithiinkarpraeminprasiththiphaphkhxngxngkhkrprawtiinxditthiphanmamibristhyksihymakmayhlaybristh echn AT amp T aela sn imokhrsisetms txngprasbpyha aelaklaysphaphipepnbrisththiimyingihyehmuxnediminpccubn enuxngcaksaehtuthiphxsrupiddngni mnicinrabbkarthangankhxngbristhaebbedimmakekinip thanakarenginkhxngbristhinchwngrungeruxngnnyngdixyumak cungimtrahnkwabristhkalngdaeninipinthangthitktalng imruckephimetim prbprung aelanaethkhonolyiihm echn rabbsarsneths maichinbristh enuxngcakmiehtukarnpraephthniekidkhunsaaelwsaela inpi ph s 2535 kh s 1992 dr Kaplan aela Norton cak Harvard Business School cungtrahnkwa ekhruxngmuxthiichwdprasiththiphaphkhxngbristhaebbeka nn micudxxnaelakakwm echn duaettwelkhsthanakarenginkhxngbristh sungepnaekhmumediywkhxngkhwamsaerckhxngbristh aelamkepncakxdit imidaesdngthungskyphaphaelaaenwonmbristhinxnakht thngsxngcungidphyayamkhidkhnekhruxngmuxihm thichwyihphubriharkhxngbristhekhaicsthanakhxngbristhinhlay mummxngidxyangthuktxngaelakrachb sungekhruxngmuxihmthiwakkhux balans skxrkard Balanced Scorecard niexng khuxcaphyayamthwngdulkhxngbristhinthuk dan ephuxkhwamsaercxyangyngyunthngpccubnaelaxnakht enuxngcaksphawaaewdlxmthangkaraekhngkhnthirunaernginpccubn balans skxrkardsungepnekhruxngmuxinkarcdkaraebbihm cungepnaenwkhidthiepnpraoychnxyangmakinkarbriharxngkhkrkhunsmbtitwxyangkhxng balans skxrkard balans skxrkard cawdskyphaphkhxngbristhin 4 dan kareluxkthicawdxair xyangir aelamiepahmaykhuxxair epnhnathikhxngphubriharaelathipruksa aengmumdankarengin The Financial Perspective epntwchiwdthiphubriharkhunekhydi echn xtraswnthangkarengin lukhni aengmumdan The Customer Perspective dusingthimiphlkrathbtxlukkhaodytrng echn ewlaechliyinkarihbrikarlukkha xndbkhxngbristh thaeriyngcakkhwamphxickhxnglukkha hruxeriyngcakkartahnikhxnglukkha aengmumdankrabwnkaraelaprasiththiphaphkarthangan The Business Process Internal Operations Perspective dusingthimiphlkrathbtxkrabwnkarthanganphayinthurkic echn ewlaechliythitxngichinkarthanganaetlaxyang canwnnganthitxngthaihm khwamsaercinkarbukebikthurkicihm aengmumdankarkareriynruaelaetibot The Learning and Growth Perspective echn rayidcaksinkhaihm karmiswnrwmkhxngphnknganinkarihkhxesnxaena karfukxbrmphnknganpraoychninaengtwelkhwdprasiththiphaph chwyihbristhidtngepahmayidxyangepnrupthrrm echn pinitxngmilukkhaechliyxyangta 28 87 khntxwn aelatrwcsxbskyphaphpccubnwaiklekhiyngepahmaymaknxyephiyngid idehnthungkhwamsmphnth correlation khxngmummxngtang khxngbristh echn thatwelkhdan internal operations sung cathaih twelkhdan customer sungipdwy khwamsmphnthinmummxngtang chwyiheraidixediyihm inepahmay aelaaephnihm khxngbristh thngniyngchwyiherawangepahmayrayasnaelarayayawidxyangehmaasmxikdwyduephimkhlngkhxmul KPIxangxinghttp www balancedscorecard org basics bsc1 html ekbthawr 2006 12 21 thi ewyaebkaemchchin