ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: 日本銀行; โรมาจิ: Nippon Ginkō; : นิปปง กิงโก) มักเรียกย่อว่า นิชิงิง (ญี่ปุ่น: 日銀) เป็นธนาคารกลางของประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชูโอ กรุงโตเกียว
日本銀行 | |
ที่ทำการในกรุงโตเกียว | |
ภาพรวมหน่วยงาน | |
---|---|
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2425 |
เขตอำนาจ | ประเทศญี่ปุ่น |
สำนักงานใหญ่ | เขตชูโอ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น |
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน |
|
เว็บไซต์ | www.boj.or.jp |
ประวัติศาสตร์
ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นก่อตั้งขึ้นหลังการปฏิรูปเมจิ เช่นเดียวกับสถาบันสมัยใหม่ของญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ก่อนหน้าการปฏิรูป () ของญี่ปุ่นทั้งหลายต่างออกเงินตราของตัวเอง เรียกว่า ฮันซัตสุ () ซึ่งเป็นระเบียบหน่วยเงินที่เข้ากันไม่ได้ แต่พระราชบัญญัติเงินตราใหม่แห่งปีเมจิที่ 4 (ค.ศ. 1871) ยกเลิกระบบเหล่านี้ และสถาปนาเงินสกุลเยน เป็นเงินตราระบบทศนิยมใหม่ คล้ายกันกับเงินดอลล่าร์เงินของเม็กซิโก กลายมาเป็นจังหวัด และโรงกษาปณ์ในดินแดนต่าง ๆ กลายมาเป็นธนาคารที่เอกชนเป็นผู้ถือใบอนุญาต ซึ่ง อย่างไรก็ตาม ในช่วงแรกธนาคารเหล่านี้ยังมีสิทธิที่จะพิมพ์เงินออกมาอยู่ มีอยู่ช่วงเวลาหนึ่งที่รัฐบาลกลางและที่เรียกว่า ธนาคาร "แห่งชาติ" เหล่านี้ได้ออกเงินตรา ช่วงแห่งผลสืบเนื่องที่ผิดคาดนี้สิ้นสุดลงเมื่อธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นถูกก่อตั้งขึ้นในปีเมจิที่ 15 (ค.ศ. 1882) ตามแบบของเบลเยียม และได้ถือครองบางส่วนโดยเอกชนนับแต่นั้น มีการปรับเปลี่ยนอีกหลายครั้งยึดตามธนาคารกลางของประเทศอื่น ซึ่งแวดล้อมภายในระเบียบข้อบังคับที่ธนาคารจัดตั้งขึ้น สถาบันได้รับการผูกขาดการควบคุมปริมาณเงินใน ค.ศ. 1884 แต่ต้องรอหลังจากนั้นอีก 20 ปี ก่อนที่ธนบัตรที่ออกไปก่อนหน้านี้จะหมดอายุ
หลังการผ่านระเบียบธนบัตรธนาคารที่เปลี่ยนแปลงได้ (พฤษภาคม ค.ศ. 1884) ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นออกธนบัตรธนาคารเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1885 (ปีเมจิที่ 18) แม้จะมีข้อบกพร่องเล็กน้อยบางประการ แต่การทำงานของธนาคารกลางประสบความสำเร็จเป็นส่วนใหญ่ ใน ค.ศ. 1897 ญี่ปุ่นเข้าร่วมมาตรฐานทองคำ และใน ค.ศ. 1899 อดีตธนบัตรธนาคาร "แห่งชาติ" ได้หมดอายุลงอย่างเป็นทางการ
ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นดำเนินการอย่างต่อเนื่องนับแต่ก่อตั้งขึ้น อย่างไรก็ตาม มีการจัดระบบองค์กรใหม่ใน ค.ศ. 1942 ภายใต้พระราชบัญญัติธนาคารญี่ปุ่น ค.ศ. 1942 (ญี่ปุ่น: 日本銀行法 昭和17年法律第67号) และมีช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองสั้น ๆ ระหว่างการยึดครองญี่ปุ่น เมื่อการทำงานของธนาคารถูกชะลอไป และมีการออกเงินตราทางทหาร ใน ค.ศ. 1949 มีการจัดระบบองค์กรใหม่อีกครั้ง
ในคริสต์ทศวรรษ 1970 บรรยากาศการทำงานของธนาคารพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนผ่านจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราคงที่ และเศรษฐกิจค่อนข้างปิด มาเป็นเศรษฐกิจเปิดขนาดใหญ่ที่มีอัตราแลกเปลี่ยนที่ค่าเปลี่ยนแปลงได้
ระหว่างช่วงหลังสงครามทั้งหมด กระทั่งถึงอย่างน้อย ค.ศ. 1991 นโยบายการเงินของธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นดำเนินการผ่านการควบคุมเครดิต "แนะนำหน้าต่าง" (窓口指導) เป็นหลัก ซึ่งเป็นรูปแบบเครื่องมือหลักของธนาคารกลางจีนสำหรับการนำนโยบายการเงินไปปฏิบัติ โดยธนาคารกลางจะกำหนดโควตาสินเชื่อธนาคารแก่ธนาคารพาณิชย์ เครื่องมือดังกล่าวมีส่วนสำคัญในการก่อให้เกิด "เศรษฐกิจฟองสบู่" ในคริสต์ทศวรรษ 1980 จากนั้น นโยบายดังกล่าวถูกนำไปปฏิบัติโดย "แผนกธุรกิจ" (営業局) ในเวลานั้น ซึ่งเป็นผู้นำระหว่าง "ปีฟองสบู่" จาก ค.ศ. 1986 ถึง 1989 โดยมีโทชิฮิโกะ ฟุกุอิ เป็นหัวหน้า ต่อมาเป็นรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ทศวรรษ 1990 และผู้ว่าการใน ค.ศ. 2003
การทบทวนพระราชบัญญัติธนาคารญี่ปุ่นครั้งใหญ่ใน ค.ศ. 1997 มีจุดประสงค์เพื่อให้ธนาคารกลางมีอิสระมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า มีอิสระในการดำเนินการมากเกินไป และขาดการตรวจสอบได้ก่อนที่กฎหมายฉบับนี้จะผ่านแล้ว อย่างไรก็ตาม นับแต่การใช้บังคับกฎหมายใหม่นี้ ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นปฏิเสธคำขอของรัฐบาลที่ขอให้กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
ภารกิจ
ภารกิจของธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นตามพระราชบัญญัติก่อตั้ง มีดังนี้
- พิมพ์และจัดการธนบัตร
- นำนโยบายการเงินไปปฏิบัติ
- จัดหาบริการชำระหนี้และรับประกันเสถียรภาพของระบบการเงิน
- ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการคลังและหลักประกันภาครัฐ
- กิจการระหว่างประเทศ
- รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ และกิจกรรมวิจัย
อ้างอิง
- "Guide Map to the Bank of Japan Tokyo Head Office 2009-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." Bank of Japan. Retrieved on December 22, 2009.
- Nussbaum, "Banks" at p. 69., p. 69, ที่
- Vande Walle, Willy et al. "Institutions and ideologies: the modernization of monetary, legal and law enforcement 'regimes' in Japan in the early Meiji-period (1868-1889)" (abstract). FRIS/Katholieke Universiteit Leuven, 2007.
- Longford, Joseph Henry. (1912). Japan of the Japanese, p. 289.
- Cargill, Thomas et al. (1997). The political economy of Japanese monetary policy, p. 10.
- Nussbaum, "Banks" at p. 70., p. 70, ที่
- Nussbaum, Louis Frédéric et al. (2005). "Nihon Ginkō" in Japan encyclopedia, p. 708., p. 708, ที่
- Cargill, p. 197.
- Werner, Richard (2002). ‘Monetary Policy Implementation in Japan: What They Say vs. What they Do’, Asian Economic Journal, vol. 16 no.2, Oxford: Blackwell, pp. 111-151; Werner, Richard (2001). Princes of the Yen, Armonk: M. E. Sharpe [1]
- Cargill, p. 19.
- Horiuchi, Akiyoshi (1993), "Japan" in Chapter 3, "Monetary policies" in Haruhiro Fukui, Peter H. Merkl, Hubrtus Mueller-Groeling and Akio Watanabe (eds.), The Politics of Economic Change in Postwar Japan and WWest Germany, vol. 1, Macroeconomic Conditions and Policy Responses, London: Macmillan. Werner, Richard (2005), New Paradigm in Macroeconomics, London: Macmillan.
- See rebuffed requests by the government representatives at BOJ policy board meetings: e.g. [2] 2007-11-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน or refusals to increase bond purchases: Bloomberg News [3]
แหล่งข้อมูลอื่น
- (ญี่ปุ่น) (อังกฤษ) Bank of Japan official site
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thnakharaehngpraethsyipun yipun 日本銀行 ormaci Nippon Ginkō thbsphth nippng kingok mkeriykyxwa nichinging yipun 日銀 epnthnakharklangkhxngpraethsyipun misanknganihytngxyuinekhtchuox krungotekiywthnakharaehngpraethsyipun日本銀行thithakarinkrungotekiywphaphrwmhnwyngankxtngph s 2425ekhtxanacpraethsyipunsanknganihyekhtchuox otekiyw praethsyipunfaybriharhnwynganmasaki chirakawa phuwakarthnakharaehngpraethsyipunewbistwww boj or jpprawtisastrthnakharaehngpraethsyipunkxtngkhunhlngkarptirupemci echnediywkbsthabnsmyihmkhxngyipunswnihy kxnhnakarptirup khxngyipunthnghlaytangxxkengintrakhxngtwexng eriykwa hnstsu sungepnraebiybhnwyenginthiekhaknimid aetphrarachbyytiengintraihmaehngpiemcithi 4 kh s 1871 ykelikrabbehlani aelasthapnaenginskuleyn epnengintrarabbthsniymihm khlayknkbengindxllarenginkhxngemksiok klaymaepncnghwd aelaorngksapnindinaedntang klaymaepnthnakharthiexkchnepnphuthuxibxnuyat sung xyangirktam inchwngaerkthnakharehlaniyngmisiththithicaphimphenginxxkmaxyu mixyuchwngewlahnungthirthbalklangaelathieriykwa thnakhar aehngchati ehlaniidxxkengintra chwngaehngphlsubenuxngthiphidkhadnisinsudlngemuxthnakharaehngpraethsyipunthukkxtngkhuninpiemcithi 15 kh s 1882 tamaebbkhxngebleyiym aelaidthuxkhrxngbangswnodyexkchnnbaetnn mikarprbepliynxikhlaykhrngyudtamthnakharklangkhxngpraethsxun sungaewdlxmphayinraebiybkhxbngkhbthithnakharcdtngkhun sthabnidrbkarphukkhadkarkhwbkhumprimanenginin kh s 1884 aettxngrxhlngcaknnxik 20 pi kxnthithnbtrthixxkipkxnhnanicahmdxayu hlngkarphanraebiybthnbtrthnakharthiepliynaeplngid phvsphakhm kh s 1884 thnakharaehngpraethsyipunxxkthnbtrthnakharepnkhrngaerkin kh s 1885 piemcithi 18 aemcamikhxbkphrxngelknxybangprakar aetkarthangankhxngthnakharklangprasbkhwamsaercepnswnihy in kh s 1897 yipunekharwmmatrthanthxngkha aelain kh s 1899 xditthnbtrthnakhar aehngchati idhmdxayulngxyangepnthangkar thnakharaehngpraethsyipundaeninkarxyangtxenuxngnbaetkxtngkhun xyangirktam mikarcdrabbxngkhkrihmin kh s 1942 phayitphrarachbyytithnakharyipun kh s 1942 yipun 日本銀行法 昭和17年法律第67号 aelamichwnghlngsngkhramolkkhrngthisxngsn rahwangkaryudkhrxngyipun emuxkarthangankhxngthnakharthukchalxip aelamikarxxkengintrathangthhar in kh s 1949 mikarcdrabbxngkhkrihmxikkhrng inkhristthswrrs 1970 brryakaskarthangankhxngthnakharphthnaipphrxmkbkarepliynphancakxtraaelkepliynengintrakhngthi aelaesrsthkickhxnkhangpid maepnesrsthkicepidkhnadihythimixtraaelkepliynthikhaepliynaeplngid rahwangchwnghlngsngkhramthnghmd krathngthungxyangnxy kh s 1991 noybaykarenginkhxngthnakharaehngpraethsyipundaeninkarphankarkhwbkhumekhrdit aenanahnatang 窓口指導 epnhlk sungepnrupaebbekhruxngmuxhlkkhxngthnakharklangcinsahrbkarnanoybaykarenginipptibti odythnakharklangcakahndokhwtasinechuxthnakharaekthnakharphanichy ekhruxngmuxdngklawmiswnsakhyinkarkxihekid esrsthkicfxngsbu inkhristthswrrs 1980 caknn noybaydngklawthuknaipptibtiody aephnkthurkic 営業局 inewlann sungepnphunarahwang pifxngsbu cak kh s 1986 thung 1989 odymiothchihioka fukuxi epnhwhna txmaepnrxngphuwakarthnakharaehngpraethsyipuninkhristthswrrs 1990 aelaphuwakarin kh s 2003 karthbthwnphrarachbyytithnakharyipunkhrngihyin kh s 1997 micudprasngkhephuxihthnakharklangmixisramakyingkhun xyangirktam thnakharaehngpraethsyipunidthukwiphakswicarnwa mixisrainkardaeninkarmakekinip aelakhadkartrwcsxbidkxnthikdhmaychbbnicaphanaelw xyangirktam nbaetkarichbngkhbkdhmayihmni thnakharaehngpraethsyipunptiesthkhakhxkhxngrthbalthikhxihkratunesrsthkicxyangtxenuxngpharkicpharkickhxngthnakharaehngpraethsyipuntamphrarachbyytikxtng midngni phimphaelacdkarthnbtr nanoybaykarenginipptibti cdhabrikarcharahniaelarbpraknesthiyrphaphkhxngrabbkarengin ptibtikarthiekiywkhxngkbkarkhlngaelahlkpraknphakhrth kickarrahwangpraeths rwbrwmkhxmul wiekhraahthangesrsthkic aelakickrrmwicyxangxing Guide Map to the Bank of Japan Tokyo Head Office 2009 06 04 thi ewyaebkaemchchin Bank of Japan Retrieved on December 22 2009 Nussbaum Banks at p 69 p 69 thi Vande Walle Willy et al Institutions and ideologies the modernization of monetary legal and law enforcement regimes in Japan in the early Meiji period 1868 1889 abstract FRIS Katholieke Universiteit Leuven 2007 Longford Joseph Henry 1912 Japan of the Japanese p 289 Cargill Thomas et al 1997 The political economy of Japanese monetary policy p 10 Nussbaum Banks at p 70 p 70 thi Nussbaum Louis Frederic et al 2005 Nihon Ginkō in Japan encyclopedia p 708 p 708 thi Cargill p 197 Werner Richard 2002 Monetary Policy Implementation in Japan What They Say vs What they Do Asian Economic Journal vol 16 no 2 Oxford Blackwell pp 111 151 Werner Richard 2001 Princes of the Yen Armonk M E Sharpe 1 Cargill p 19 Horiuchi Akiyoshi 1993 Japan in Chapter 3 Monetary policies in Haruhiro Fukui Peter H Merkl Hubrtus Mueller Groeling and Akio Watanabe eds The Politics of Economic Change in Postwar Japan and WWest Germany vol 1 Macroeconomic Conditions and Policy Responses London Macmillan Werner Richard 2005 New Paradigm in Macroeconomics London Macmillan See rebuffed requests by the government representatives at BOJ policy board meetings e g 2 2007 11 17 thi ewyaebkaemchchin or refusals to increase bond purchases Bloomberg News 3 aehlngkhxmulxun yipun xngkvs Bank of Japan official site