ท่อน้ำดีตัน (อังกฤษ: Biliary atresia) เป็นภาวะของทารกแรกเกิดซึ่งพบไม่บ่อยนัก มีลักษณะคือซึ่งระหว่างตับกับลำไส้เล็กนั้นตันหรือหายไป หากไม่ได้รับการวินิจฉัยทันท่วงทีจะทำให้เกิดภาวะตับแข็งได้ สาเหตุของภาวะนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด การรักษาที่ได้ผลคือการผ่าตัดเชื่อมต่อทางเดินน้ำดีหรือการผ่าตัดเปลี่ยนตับ
ท่อน้ำดีตัน (Extrahepatic biliary atresia) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Extrahepatic ductopenia |
ภาพถ่ายจากการผ่าตัดผู้ป่วยที่มีท่อน้ำดีนอกตับตีบตัน | |
สาขาวิชา | กุมารศัลยศาสตร์ |
อาการ | ตัวเหลือง, อุจจาระสีซีด, ปัสสาวะสีเข้ม |
ภาวะแทรกซ้อน | ตับแข็ง, ความดันพอร์ทัลสูง, ตับวาย |
การรักษา | การผ่าตัด, การปลูกถ่ายตับ |
การตรวจคัดกรองและระบาดวิทยา
นักวิจัยจำนวนมากให้ความสนใจในการประดิษฐ์ชุดตรวจคัดกรองสำหรับโรคท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดเนื่องจากการวินิจฉัยและรักษาได้ในระยะต้นๆ ของโรคมีความสำคัญมาก มีการทดลองใช้ Dry blood spots บน universal Guthrie screening card เพื่อตรวจหาความเข้มข้นของเกลือน้ำดีแต่ผลที่ได้ไม่มีความจำเพาะ
อาการและการวินิจฉัย
อาการแรกเริ่มของภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดคือการที่ทารกมีตัวเหลืองแต่กำเนิด ซึ่งปกติสามารถพบได้บ้าง มักปรากฏให้เห็นชัดในช่วงสัปดาห์แรกถึงสัปดาห์ที่หกหลังเกิด นอกจากตัวเหลืองแล้วอาการอื่นที่พบด้วยได้แก่ อุจจาระสีซีด ปัสสาวะสีเข้ม ท้องโต ตับโตคลำได้เป็นก้อนแข็ง (เป็นคนละอาการกับตับแข็ง) ทารกที่มีตัวเหลืองแต่กำเนิดที่ไม่สามารถบรรเทาอาการได้ด้วยหรือการถ่ายเลือดจะต้องได้รับการตรวจหาสาเหตุ
ผู้ป่วยมักได้รับการตรวจหาระดับและมักพบว่ามีระดับผิดปกติอย่างมาก มีภาวะบิลิรูบินในเลือดสูง (conjugated hyperbilirubinemia) และเนื่องจากบิลิรูบินที่สูงนี้เป็นชนิด conjugated จึงไม่ทำให้เกิด (อาการทางสมองจากภาวะตัวเหลือง) การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือการสร้างภาพอื่นๆ สามารถให้การวินิจฉัยได้ การตรวจเพิ่มเติมอาจใช้หรือการตรวจชิ้นเนื้อตับ
สาเหตุ
ภาวะนี้พบได้น้อยในทารกที่หรือทารกคลอดก่อนกำหนด ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานการเกิดโรคที่ว่าน่าจะเกิดในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ ในทางกลับกัน ทารกที่มีซึ่งเป็นหนึ่งในการวินิจฉัยแยกโรคที่สำคัญนั้นมักเป็นทารกคลอดก่อนกำหนด ตัวเล็กกว่าปกติ หรือทั้งสองอย่าง
การติดเชื้อ
- ยังไม่มีการค้นพบเชื้อที่ทำให้เกิดภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดแน่ชัด แม้จะมีการศึกษาถึงบทบาทของเชื้อก่อโรคในการทำให้เกิดภาวะนี้อย่างละเอียดแล้วก็ตาม
- Fischler และคณะ รายงานการพบการติดเชื้อ CMV ถึง 25% ในทารกที่มีภาวะนี้ไว้ในการศึกษาด้วยวิธีการทางวิทยาเซรุ่มด้วย IgM มีการศึกษาซ้ำโดย Chang และคณะ ได้ผลเป็นที่น่าสนใจว่าพบการติดเชื้อ CMV ในภาวะตับอักเสบไม่ทราบสาเหตุในทารกแรกเกิดมากยิ่งกว่าที่พบในภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด เป็นการสนับสนุนแนวคิดที่ว่าทั้งสองโรคเป็นผลสุดท้ายของเดียวกัน ซึ่ง Landing เป็นผู้แรกที่ใช้คำเรียกว่ากลุ่มโรคท่อน้ำดีอุดตันในเด็ก (Infantile obstructive cholangiopathy)
- การศึกษาเกี่ยวกับ type 3 ยังให้ผลเป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ Wilson และคณะระบุไว้ในการศึกษาหนึ่งว่าไวรัสนี้สร้างความเสียหายแก่และของหนู ในขณะที่อีกการศึกษาหนึ่งโดย Steele และคณะ ไม่สามารถแสดงให้เห็นว่ามีการติดเชื้อในทารกที่มีได้
- มีการศึกษาถึงบทบาทของ Rotavirus กลุ่ม A, B และ C และไวรัสตับอักเสบ A, B และ C แล้ว แต่ยังไม่ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะนี้
ปัจจัยทางพันธุกรรม
- การที่มีภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด การที่ภาวะนี้พบร่วมกับความผิดปกติทางระบบทางเดินอาหารและหัวใจได้บ่อยครั้ง ทำให้มีความเป็นไปได้ที่ภาวะนี้จะมีสาเหตุทางพันธุกรรม มีการศึกษาพบการกลายพันธุ์ของพันธุกรรมตำแหน่งจำเพาะในหนูที่มีอวัยวะภายในผิดปกติและมีหัวใจผิดปกติ ซึ่งความผิดปกติลักษณะนี้ใกล้เคียงกับที่พบร่วมกับภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด
- มีความผิดปกติทางพันธุกรรมหลายอย่าง เช่น การหลุดหายของยีน c-jun ของหนู () และการกลายพันธุ์ของ ที่มีความสัมพันธ์กับความผิดปกติของตับและม้าม อย่างไรก็ดียังไม่มีการค้นพบความสัมพันธ์โดยตรงกับภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดแต่อย่างใด
สาเหตุอื่น
- ความผิดปกติในการสังเคราะห์น้ำดีเป็นหนึ่งในการวินิจฉัยแยกโรคของภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด ซึ่งที่จริงแล้วน้ำดีนี้แทบจะเป็นสาเหตุแน่ชัดของความเสียหายของและในทารกที่มีภาวะนี้ ถึงแม้ความผิดปกติทางอาจทำให้ความเสียหายต่อตับเกิดได้เร็วขึ้นก็ตาม ยังไม่มีการค้นพบบทบาทโดยตรงของความผิดปกติของน้ำดีที่จะทำให้เกิดภาวะท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดได้
- นักวิจัยหลายคนได้ศึกษาเกี่ยวกับผลที่คาดว่าจะมีของสารที่ทำให้เกิดโรค รวมถึง (teratogen) และปัจจัยทางระบบภูมิคุ้มกัน แต่ก็ยังไม่พบหลักฐานของการมีความสัมพันธ์กันโดยตรงเช่นกัน
การรักษา
การรักษาทางอายุรศาสตร์
- ไม่มีการรักษาทางอายุรศาสตร์เบื้องต้นที่จำเป็นต่อผู้ป่วยท่อน้ำดีอุดตันแต่กำเนิด หน้าที่ของกุมารแพทย์ผู้ทำการรักษาคือการให้การวินิจฉัย
- เมื่อสงสัยว่าผู้ป่วยจะมีท่อน้ำดีอุดตันแต่กำเนิด การผ่าตัดเป็นวิธีการเดียวสำหรับการวินิจฉัย (การฉีดสีเข้าท่อน้ำดีระหว่างผ่าตัด) และการรักษา (การผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้แบบ Kasai)
การรักษาทางศัลยศาสตร์
- หลังจากประเมินสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดภาวะน้ำดีคั่งในทารกแรกเกิดหมดแล้ว ผู้ป่วยจะได้รับการฉีดสีเข้าท่อน้ำดีระหว่างผ่าตัดเพื่อยืนยันการวินิจฉัยภาวะท่อน้ำดีนอกตับตีบตันแต่กำเนิด
- ศัลยแพทย์จะเป็นผู้ประเมินลักษณะโรคของผู้ป่วยอีกครั้งระหว่างการผ่าตัดเพื่อเลือกวิธีรักษาที่เหมาะสม วิธีหนึ่งที่ใช้บ่อยคือการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้แบบ Kasai เพื่อให้น้ำดีสามารถไหลลงลำไส้ได้โดยตรง
โภชนาการ
- ในช่วงที่กำลังรับการประเมินเพื่อวินิจฉัยนั้น อาหารของผู้ป่วยให้เป็นอาหารปกติ
- แนะนำให้ทารกกินนมแม่หลังผ่าตัดหากเป็นไปได้ เนื่องจากในนมแม่มีเอนไซม์และที่จะช่วยในการย่อยไขมัน ทางทฤษฎีแล้วนมแม่อาจมีส่วนช่วงป้องกันซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยหลังการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้โดยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียท้องถิ่นชนิดแกรมลบและ แม้จะยังไม่มีข้อมูลยืนยัน
พยากรณ์โรค
- ข้อมูลว่าด้วยผลการรักษามีความแตกต่างกันไปในแต่ละแหล่งทั่วโลก ผลสำเร็จของการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กแบบ Kasai เพื่อให้มีน้ำดีไหลได้อยู่ที่ร้อยละ 60-80 เป็นที่ชัดเจนแล้วว่าปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะส่งผลต่อผลผารรักษาคืออายุของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด ข้อมูลจากหลายศูนย์รายงานว่าควรผ่าตัดผู้ป่วยก่อนอายุได้ 3 เดือน และมีข้อมูลว่ามีความจำเป็นต้องผ่าตัดเปลี่ยนตับน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญหากได้รับการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กก่อนอายุได้ 10 สัปดาห์ ในช่วงหลังผ่าตัดการลดลงของระดับบิลิรูบินในซีรัมมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการมีพยากรณ์โรคที่ดี
- ผู้ป่วย 3 ลักษณะต่อไปนี้ควรได้รับการพิจารณารับการผ่าตัดซ้ำ
- ผู้ป่วยที่มีตัวเหลืองอีกครั้งหลังจากช่วงหายตัวเหลืองระยะแรกหลังการผ่าตัด
- ผู้ป่วยที่มีลักษณะทางมิญชวิทยาของท่อน้ำดีที่ดีในช่วงแรกของการผ่าตัดแต่ไม่สามารถมีน้ำดีไหลได้
- ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดที่ไม่ดีเพียงพอ
ภาวะแทรกซ้อน
- ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้มีทั้งภาวะแทรกซ้อนในระยะเฉียบพลันและเรื้องรัง
- ในช่วงแรกหลังการผ่าตัด ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุดคือการต่อท่อน้ำดีกับลำไส้ที่ไม่สมบูรณ์ทำให้น้ำดีไม่สามารถไหลลงลำไส้ได้ดีเพียงพอ หลังการผ่าตัดพบว่าผู้ป่วยหนึ่งในสามมีการไหลของน้ำดีไม่เพียงพอ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มักดำเนินโรคไปสู่ภาวะตับแข็งจากน้ำดีภายในขวบปีแรกๆ ของชีวิต หากไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนตับ
- ในระยะต่อมา พบภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับโรคตับที่ยังดำเนินอยู่และมากถึงร้อยละ 60 ของผู้ป่วยที่ประสบความสำเร็จในการผ่าตัด
- ผู้ป่วยร้อยละ 50 หลังการผ่าตัดเกิดมี มีการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันท่อน้ำดีอักเสบหลังการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กได้ผลว่ายา หรือ Neomycin สามารถใช้ป้องกันโรคท่อน้ำดีอักเสบหลังการผ่าตัดได้ประมาณครึ่งหนึ่ง
- ผู้ป่วยที่โรคดำเนินไปจนมีตับแข็งและไม่มีหลักฐานทางคลินิกของภาวะความดันพอร์ทัลสูงมีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งเซลล์ตับมากขึ้น
ระบาดวิทยา
อุบัติการณ์
โรคท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดพบในประเทศสหรัฐอเมริกาประมาณ 1 ใน 10,000-15,000 ทารกแรกเกิดมีชีพ โดยมีอุบัติการณ์ในประชากรเอเชียมากกว่าในสหรัฐอเมริกา และพบในทารกจีนมากกว่าทารกญี่ปุ่น
อัตราตายและอัตราเป็นโรค
ก่อนที่วิธีการผ่าตัดปลูกถ่ายตับจะกลายมาเป็นทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยเด็กโรคตับระยะสุดท้ายนั้น อัตราการรอดชีวิตยืนยาวของทารกที่มีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดหลังได้รับการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้อยู่ที่ 47-60% ที่ 5 ปี และ 25-35% ที่ 10 ปี ผู้ป่วยหนึ่งในสามจะพบว่ามีการไหลของน้ำดีหลังการผ่าตัดไม่ดีพอ ผู้ป่วยเหล่านี้จะดำเนินโรคไปเป็นตับแข็งเหตุน้ำดีภายในไม่กี่ปีหากไม่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดได้แก่ท่อน้ำดีอักเสบ 50% และภาวะความดันพอร์ทัลสูง (>60%)
สังคมและวัฒนธรรม
ประเด็นทางนิติเวช
ถึงแม้จะไม่ใช่ประเด็นทางนิติเวชที่ชัดเจน ยังไม่มีข้อสรุปว่าการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กหรือการผ่าตัดเปลี่ยนตับกันแน่ที่เป็นการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด การเปลี่ยนตับนั้นได้รับการแนะนำให้เป็นการรักษาที่เป็นทางเลือกที่ดีเนื่องจากให้อัตราการรอดชีวิตระยะยาวที่สูงกว่า และจากข้อเท็จจริงที่ว่าร้อยละ 60 ของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กแบบ Kasai ก็จะต้องเข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนตับในที่สุด อย่างไรก็ดีการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่อย่างละเอียดพบว่าสถิติการรอดชีวิตโดยรวมจากการให้การผ่าตัดเป็นลำดับแรกไม่ได้เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญนัก นอกจากนั้นแล้ว ในช่วงที่ยังมีปัญหาในการจัดหาอวัยวะให้กับผู้ป่วยยังเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วยที่รอเปลี่ยนตับอยู่นั่น การผ่าตัดต่อท่อน้ำดีกับลำไส้เล็กเป็นทางเลือกในการรักษาที่ช่วยรักษาโอกาสในการมีผลการรักษาที่ดีในระยะยาวของผู้ป่วย
อ้างอิง
- Chardot, Christophe (2006). "Biliary atresia". Orphanet Journal of Rare Diseases. 1: 28. doi:10.1186/1750-1172-1-28. PMC 1560371. PMID 16872500.
- Mushtaq I, Logan S, Morris M; และคณะ (1999). "Screening of newborn infants for cholestatic hepatobiliary disease with tandem mass spectrometry". BMJ (ภาษาอังกฤษ). 319: 471–77. PMID 10454398.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Fischler B, Ehrnst A, Forsgren M; และคณะ (1998). "The viral association of neonatal cholestasis in Sweden: a possible link between cytomegalovirus infection and extrahepatic biliary atresia". J Pediatr Gastroenterol Nutr. 27 (1): 57–64. PMID 9669727.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (อังกฤษ) - Chang MH, Huang HH, Huang ES; และคณะ (1992). "Polymerase chain reaction to detect human cytomegalovirus in livers of infants with neonatal hepatitis". Gastroenterology. 103 (3): 1022–5. PMID 1323495.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (อังกฤษ) - Landing BH. (1974). "Considerations of the pathogenesis of neonatal hepatitis, biliary atresia and choledochal cyst--the concept of infantile obstructive cholangiopathy". Prog Pediatr Surg. 6: 113–39. PMID 4856850. (อังกฤษ)
- Wilson GA, Morrison LA, Fields BN. (1994). "Association of the reovirus S1 gene with serotype 3-induced biliary atresia in mice". J Virol. 68 (10): 6458–65. PMID 8083983.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (อังกฤษ) - Steele MI, Marshall CM, Lloyd RE, Randolph VE. (1995). "Reovirus 3 not detected by reverse transcriptase-mediated polymerase chain reaction analysis of preserved tissue from infants with cholestatic liver disease". Hepatology. 21 (3): 697–702. PMID 7533124.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () (อังกฤษ) - อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อroyin
- Bu LN.; และคณะ (2003). "Prophylactic oral antibiotics in prevention of recurrent cholangitis after the Kasai portoenterostomy". J Pediatr Surg. 38 (4): 590–3. PMID 12677572. (อังกฤษ)
- Steven M Schwarz; และคณะ (13 September 2007). "Biliary Atresia" (ภาษาอังกฤษ). eMedicine. สืบค้นเมื่อ 2009-02-19.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Biliary Atresia ใน eMedicine.com
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thxnaditn xngkvs Biliary atresia epnphawakhxngtharkaerkekidsungphbimbxynk milksnakhuxsungrahwangtbkblaiselknntnhruxhayip hakimidrbkarwinicchythnthwngthicathaihekidphawatbaekhngid saehtukhxngphawaniyngimthrabaenchd karrksathiidphlkhuxkarphatdechuxmtxthangedinnadihruxkarphatdepliyntbthxnaditn Extrahepatic biliary atresia chuxxunExtrahepatic ductopeniaphaphthaycakkarphatdphupwythimithxnadinxktbtibtnsakhawichakumarslysastrxakartwehluxng xuccarasisid pssawasiekhmphawaaethrksxntbaekhng khwamdnphxrthlsung tbwaykarrksakarphatd karplukthaytbkartrwckhdkrxngaelarabadwithyankwicycanwnmakihkhwamsnicinkarpradisthchudtrwckhdkrxngsahrborkhthxnaditibtnaetkaenidenuxngcakkarwinicchyaelarksaidinrayatn khxngorkhmikhwamsakhymak mikarthdlxngich Dry blood spots bn universal Guthrie screening card ephuxtrwchakhwamekhmkhnkhxngekluxnadiaetphlthiidimmikhwamcaephaaxakaraelakarwinicchyxakaraerkerimkhxngphawathxnaditibtnaetkaenidkhuxkarthitharkmitwehluxngaetkaenid sungpktisamarthphbidbang mkpraktihehnchdinchwngspdahaerkthungspdahthihkhlngekid nxkcaktwehluxngaelwxakarxunthiphbdwyidaek xuccarasisid pssawasiekhm thxngot tbotkhlaidepnkxnaekhng epnkhnlaxakarkbtbaekhng tharkthimitwehluxngaetkaenidthiimsamarthbrrethaxakariddwyhruxkarthayeluxdcatxngidrbkartrwchasaehtu phupwymkidrbkartrwcharadbaelamkphbwamiradbphidpktixyangmak miphawabilirubinineluxdsung conjugated hyperbilirubinemia aelaenuxngcakbilirubinthisungniepnchnid conjugated cungimthaihekid xakarthangsmxngcakphawatwehluxng kartrwcdwykhlunesiyngkhwamthisunghruxkarsrangphaphxun samarthihkarwinicchyid kartrwcephimetimxacichhruxkartrwcchinenuxtbsaehtuphawaniphbidnxyintharkthihruxtharkkhlxdkxnkahnd sungsnbsnunsmmtithankarekidorkhthiwanacaekidinchwngthaykhxngkartngkhrrph inthangklbkn tharkthimisungepnhnunginkarwinicchyaeykorkhthisakhynnmkepntharkkhlxdkxnkahnd twelkkwapkti hruxthngsxngxyang kartidechux yngimmikarkhnphbechuxthithaihekidphawathxnaditibtnaetkaenidaenchd aemcamikarsuksathungbthbathkhxngechuxkxorkhinkarthaihekidphawanixyanglaexiydaelwktam Fischler aelakhna rayngankarphbkartidechux CMV thung 25 intharkthimiphawaniiwinkarsuksadwywithikarthangwithyaesrumdwy IgM mikarsuksasaody Chang aelakhna idphlepnthinasnicwaphbkartidechux CMV inphawatbxkesbimthrabsaehtuintharkaerkekidmakyingkwathiphbinphawathxnaditibtnaetkaenid epnkarsnbsnunaenwkhidthiwathngsxngorkhepnphlsudthaykhxngediywkn sung Landing epnphuaerkthiichkhaeriykwaklumorkhthxnadixudtninedk Infantile obstructive cholangiopathy karsuksaekiywkb type 3 yngihphlepnthikhdaeyngknxyu Wilson aelakhnarabuiwinkarsuksahnungwaiwrsnisrangkhwamesiyhayaekaelakhxnghnu inkhnathixikkarsuksahnungody Steele aelakhna imsamarthaesdngihehnwamikartidechuxintharkthimiid mikarsuksathungbthbathkhxng Rotavirus klum A B aela C aelaiwrstbxkesb A B aela C aelw aetyngimpraktwamikhwamsmphnthkbphawanipccythangphnthukrrm karthimiphawathxnaditibtnaetkaenid karthiphawaniphbrwmkbkhwamphidpktithangrabbthangedinxaharaelahwicidbxykhrng thaihmikhwamepnipidthiphawanicamisaehtuthangphnthukrrm mikarsuksaphbkarklayphnthukhxngphnthukrrmtaaehnngcaephaainhnuthimixwywaphayinphidpktiaelamihwicphidpkti sungkhwamphidpktilksnaniiklekhiyngkbthiphbrwmkbphawathxnaditibtnaetkaenid mikhwamphidpktithangphnthukrrmhlayxyang echn karhludhaykhxngyin c jun khxnghnu aelakarklayphnthukhxng thimikhwamsmphnthkbkhwamphidpktikhxngtbaelamam xyangirkdiyngimmikarkhnphbkhwamsmphnthodytrngkbphawathxnaditibtnaetkaenidaetxyangidsaehtuxun khwamphidpktiinkarsngekhraahnadiepnhnunginkarwinicchyaeykorkhkhxngphawathxnaditibtnaetkaenid sungthicringaelwnadiniaethbcaepnsaehtuaenchdkhxngkhwamesiyhaykhxngaelaintharkthimiphawani thungaemkhwamphidpktithangxacthaihkhwamesiyhaytxtbekididerwkhunktam yngimmikarkhnphbbthbathodytrngkhxngkhwamphidpktikhxngnadithicathaihekidphawathxnaditibtnaetkaenidid nkwicyhlaykhnidsuksaekiywkbphlthikhadwacamikhxngsarthithaihekidorkh rwmthung teratogen aelapccythangrabbphumikhumkn aetkyngimphbhlkthankhxngkarmikhwamsmphnthknodytrngechnknkarrksakarrksathangxayursastr immikarrksathangxayursastrebuxngtnthicaepntxphupwythxnadixudtnaetkaenid hnathikhxngkumaraephthyphuthakarrksakhuxkarihkarwinicchy emuxsngsywaphupwycamithxnadixudtnaetkaenid karphatdepnwithikarediywsahrbkarwinicchy karchidsiekhathxnadirahwangphatd aelakarrksa karphatdtxthxnadikblaisaebb Kasai karrksathangslysastr hlngcakpraeminsaehtuxun thithaihekidphawanadikhngintharkaerkekidhmdaelw phupwycaidrbkarchidsiekhathxnadirahwangphatdephuxyunynkarwinicchyphawathxnadinxktbtibtnaetkaenid slyaephthycaepnphupraeminlksnaorkhkhxngphupwyxikkhrngrahwangkarphatdephuxeluxkwithirksathiehmaasm withihnungthiichbxykhuxkarphatdtxthxnadikblaisaebb Kasai ephuxihnadisamarthihllnglaisidodytrngophchnakar inchwngthikalngrbkarpraeminephuxwinicchynn xaharkhxngphupwyihepnxaharpkti aenanaihtharkkinnmaemhlngphatdhakepnipid enuxngcakinnmaemmiexnismaelathicachwyinkaryxyikhmn thangthvsdiaelwnmaemxacmiswnchwngpxngknsungepnphawaaethrksxnthiphbbxyhlngkarphatdtxthxnadikblaisodyybyngkarecriyetibotkhxngechuxaebkhthieriythxngthinchnidaekrmlbaela aemcayngimmikhxmulyunynphyakrnorkhkhxmulwadwyphlkarrksamikhwamaetktangknipinaetlaaehlngthwolk phlsaerckhxngkarphatdtxthxnadikblaiselkaebb Kasai ephuxihminadiihlidxyuthirxyla 60 80 epnthichdecnaelwwapccysakhythisudthicasngphltxphlpharrksakhuxxayukhxngphupwythiidrbkarphatd khxmulcakhlaysunyraynganwakhwrphatdphupwykxnxayuid 3 eduxn aelamikhxmulwamikhwamcaepntxngphatdepliyntbnxylngxyangminysakhyhakidrbkarphatdtxthxnadikblaiselkkxnxayuid 10 spdah inchwnghlngphatdkarldlngkhxngradbbilirubininsirmmikhwamsmphnthodytrngkbkarmiphyakrnorkhthidi phupwy 3 lksnatxipnikhwridrbkarphicarnarbkarphatdsa phupwythimitwehluxngxikkhrnghlngcakchwnghaytwehluxngrayaaerkhlngkarphatd phupwythimilksnathangmiychwithyakhxngthxnadithidiinchwngaerkkhxngkarphatdaetimsamarthminadiihlid phupwythiidrbkarphatdthiimdiephiyngphxphawaaethrksxn phawaaethrksxncakkarphatdtxthxnadikblaismithngphawaaethrksxninrayaechiybphlnaelaeruxngrng inchwngaerkhlngkarphatd phawaaethrksxnthiphbbxythisudkhuxkartxthxnadikblaisthiimsmburnthaihnadiimsamarthihllnglaisiddiephiyngphx hlngkarphatdphbwaphupwyhnunginsammikarihlkhxngnadiimephiyngphx sungphupwyehlanimkdaeninorkhipsuphawatbaekhngcaknadiphayinkhwbpiaerk khxngchiwit hakimidrbkarphatdepliyntb inrayatxma phbphawaaethrksxnthiekiywkhxngkborkhtbthiyngdaeninxyuaelamakthungrxyla 60 khxngphupwythiprasbkhwamsaercinkarphatd phupwyrxyla 50 hlngkarphatdekidmi mikarsuksaekiywkbkarichyaptichiwnainkarpxngknthxnadixkesbhlngkarphatdtxthxnadikblaiselkidphlwaya hrux Neomycin samarthichpxngknorkhthxnadixkesbhlngkarphatdidpramankhrunghnung phupwythiorkhdaeninipcnmitbaekhngaelaimmihlkthanthangkhlinikkhxngphawakhwamdnphxrthlsungmikhwamesiyngthicaepnmaerngeslltbmakkhunrabadwithyaxubtikarn orkhthxnaditibtnaetkaenidphbinpraethsshrthxemrikapraman 1 in 10 000 15 000 tharkaerkekidmichiph odymixubtikarninprachakrexechiymakkwainshrthxemrika aelaphbintharkcinmakkwatharkyipun xtratayaelaxtraepnorkh kxnthiwithikarphatdplukthaytbcaklaymaepnthangeluxkinkarrksaphupwyedkorkhtbrayasudthaynn xtrakarrxdchiwityunyawkhxngtharkthimithxnaditibtnaetkaenidhlngidrbkarphatdtxthxnadikblaisxyuthi 47 60 thi 5 pi aela 25 35 thi 10 pi phupwyhnunginsamcaphbwamikarihlkhxngnadihlngkarphatdimdiphx phupwyehlanicadaeninorkhipepntbaekhngehtunadiphayinimkipihakimidrbkarphatdplukthaytb phawaaethrksxnhlngkarphatdidaekthxnadixkesb 50 aelaphawakhwamdnphxrthlsung gt 60 sngkhmaelawthnthrrmpraednthangnitiewch thungaemcaimichpraednthangnitiewchthichdecn yngimmikhxsrupwakarphatdtxthxnadikblaiselkhruxkarphatdepliyntbknaenthiepnkarrksathidithisudsahrbphupwythxnaditibtnaetkaenid karepliyntbnnidrbkaraenanaihepnkarrksathiepnthangeluxkthidienuxngcakihxtrakarrxdchiwitrayayawthisungkwa aelacakkhxethccringthiwarxyla 60 khxngphupwythiidrbkarphatdtxthxnadikblaiselkaebb Kasai kcatxngekharbkarphatdepliyntbinthisud xyangirkdikartrwcsxbkhxmulthimixyuxyanglaexiydphbwasthitikarrxdchiwitodyrwmcakkarihkarphatdepnladbaerkimidepliynaeplngxyangminysakhynk nxkcaknnaelw inchwngthiyngmipyhainkarcdhaxwywaihkbphupwyyngepnxupsrrkhsakhytxkarrxdchiwitkhxngphupwythirxepliyntbxyunn karphatdtxthxnadikblaiselkepnthangeluxkinkarrksathichwyrksaoxkasinkarmiphlkarrksathidiinrayayawkhxngphupwyxangxingChardot Christophe 2006 Biliary atresia Orphanet Journal of Rare Diseases 1 28 doi 10 1186 1750 1172 1 28 PMC 1560371 PMID 16872500 Mushtaq I Logan S Morris M aelakhna 1999 Screening of newborn infants for cholestatic hepatobiliary disease with tandem mass spectrometry BMJ phasaxngkvs 319 471 77 PMID 10454398 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Fischler B Ehrnst A Forsgren M aelakhna 1998 The viral association of neonatal cholestasis in Sweden a possible link between cytomegalovirus infection and extrahepatic biliary atresia J Pediatr Gastroenterol Nutr 27 1 57 64 PMID 9669727 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk xngkvs Chang MH Huang HH Huang ES aelakhna 1992 Polymerase chain reaction to detect human cytomegalovirus in livers of infants with neonatal hepatitis Gastroenterology 103 3 1022 5 PMID 1323495 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk xngkvs Landing BH 1974 Considerations of the pathogenesis of neonatal hepatitis biliary atresia and choledochal cyst the concept of infantile obstructive cholangiopathy Prog Pediatr Surg 6 113 39 PMID 4856850 xngkvs Wilson GA Morrison LA Fields BN 1994 Association of the reovirus S1 gene with serotype 3 induced biliary atresia in mice J Virol 68 10 6458 65 PMID 8083983 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk xngkvs Steele MI Marshall CM Lloyd RE Randolph VE 1995 Reovirus 3 not detected by reverse transcriptase mediated polymerase chain reaction analysis of preserved tissue from infants with cholestatic liver disease Hepatology 21 3 697 702 PMID 7533124 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk xngkvs xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux royin Bu LN aelakhna 2003 Prophylactic oral antibiotics in prevention of recurrent cholangitis after the Kasai portoenterostomy J Pediatr Surg 38 4 590 3 PMID 12677572 xngkvs Steven M Schwarz aelakhna 13 September 2007 Biliary Atresia phasaxngkvs eMedicine subkhnemux 2009 02 19 aehlngkhxmulxunBiliary Atresia in eMedicine comkarcaaenkorkhDICD 10 Q44 2ICD 751 61 210500MeSH D001656 1400thrphyakrphaynxk 001145 ped 237