บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร ประวัติความเป็นมาของพระแก้วมรกตนี้ได้มีกล่าวไว้ในตำนานซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
สถาปนาพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต
ตำนานพระแก้วมรกตเดิมระบุว่าสร้างพ.ศ.500 สร้างโดยเทวดาในประเทศอินเดีย แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระราชนิพนว่า สร้างโดยช่างโยนก ไม่ใช่สร้างในอินเดีย ที่น่าเชื่อถือจริงๆ คือประวัติตั้งแต่เชียงรายเป็นต้นไป ก่อนหน้านี้เป็นเรื่องแต่งทั้งสิ้น ดังนี้
ตามตำนานพระแก้วมรกต ในบันทึกแนบท้ายพระราชพงศาวดารเหนือ ระบุไว้ว่า พระแก้วมรกตสร้างขึ้นในปี พุทธศักราช 500 โดยพระนาคเสนเถระ วัดอโศการาม กรุงปาฏลีบุตร ในแผ่นดินพระเจ้ามิลินท์ (เมนันเดอร์) โดยเริ่มแรก เริ่มจากพระนาคเสนเถระได้ปวารณา จะสร้างพระพุทธรูปให้สืบต่อพระพุทธศาสนาจรด 5000 พระพุทธศักราช จึงได้เป็นกังวลว่าจะหาวัสดุใดมาสร้างพระพุทธรูปนี้ ด้วยปริวิตกว่า หากใช้ไม้ ก็จะไม่อยู่ถึง 5000 พระชันษา หากใช้เหล็ก ก็อาจจะถูกนำไปหลอมละลายเมื่อคราวจะมีผู้ทำลาย หากจะใช้หินศิลาธรรมดา ก็จะดูเป็นพระพุทธรูปสามัญทั่วไป จึงได้ตกลงปลงใจเลือกใช้แก้วมณีมาจำหลักพระพุทธรูป เพียงแต่ยังกังวลว่าจะใช้แก้วมณีชนิดใด
การนั้น สมเด็จพระอมรินทราธิราช พร้อมกับพระวิสสุกรรมเทพบุตร ได้จำแลงกายเป็นมานพธรรมดา ไปกราบนมัสการพระคุณเจ้าว่า ตนทั้งสองเป็นพ่อค้าเดินทางมาหลายที่ ได้ไปพบแก้วรัตนโสภณมณีโชติ อันมีรัตตนายกดิลกเฉลิม 3000 ดวง สีแดงสุกใส ที่เขาวิบุลบรรพต (เวฬุบรรพต) ณ ดินแดนห่างไกลโพ้น คิดว่าเป็นแก้วที่เหมาะสมควร แก่การนำมาจำหลักพระพุทธรูปให้สืบพระพุทธศาสนาจรด 5000 พระพุทธศักราช ว่าแล้วดังนั้น เมื่อถึงเขาวิบุลบรรพต สมเด็จพระอมรินทราธิราช จึงโปรดให้พระวิสสุกรรมเทพบุตร เข้าไปนำแก้วรัตนโสภณมณีโชติมา แต่พระวิสสุกรรมทรงกราบทูลว่า ยักษ์ผู้เฝ้าแก้วนั้นมิยอมมอบให้ สมเด็จพระอมรินทราธิราชจึงเสด็จด้วยพระองค์เอง พวกยักษ์ก็ยังกราบทูลไม่ถวายแก้วรัตนโสภณมณีโชติเช่นเดิม โดยทูลเหตุผลประกอบว่า แก้วนี้เป็นแก้วคู่บุญบารมีพระบรมศุลีจอมไกรลาส เป็นแก้วชั้นมหาจักรพรรดิ มิสามารถถวายให้ได้จริง สมเด็จพระอมรินทราธิราชจึงตรัสตอบว่า จะทรงนำไปจำหลักพระพุทธรูปให้สืบทอดพระพุทธศาสนาตลอดล่วง 5000 พระชันษา เหล่ายักษ์จึงประชุมกันและลงความเห็น มอบแก้วโลกาทิพยรัตตนายก อันมีรัตนายกดิลกเฉลิม 1000 ดวง สีเขียวทึบ (หยกอ่อน) ให้ไปแทน
เมื่อถึงวัดอโศการาม จึงทรงมอบให้พระนาคเสน และพระวิษุกรรมจึงทรงจำหลักพระพุทธรูปองค์นี้ถวายดังพระประสงค์ เมื่อจำหลักเสร็จเรียบร้อยเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงาม ตามประสงค์ของพระนาคเสนเถระแล้ว พระนาคเสนจึงบอกบุญไปยังอุบาสก อุบาสิกา สร้างมหาวิหารใกล้กับอโศการาม แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตขึ้นประดิษฐานไว้เหนือแท่นรัตน และปฐมฐาปนาถวายพระนามว่า พระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต
นอกจากนี้ในตำนานยังระบุด้วยว่าขณะที่ประดิษฐานอยู่นั้น พ่อค้าวานิช และพระมหาราชาธิราชจากประเทศต่างๆที่มาสักการะ ต่างพบเห็นพระแก้วมรกตเปล่งพระรัศมีออกมางามหาที่เปรียบมิได้ เป็นที่น่าพิศวงยินดียิ่งนัก พระนาคเสนจึงได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ลงไปในพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต 7 พระองค์ คือพระโมลี พระนลาฏ พระนาภี พระหัตถ์ซ้าย-ขวา และพระเพลาซ้าย-ขวา แต่เมื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุแล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานแล้วนั้น เกิดเหตุการแผ่นดินไหวขึ้น พระนาคเสนเห็นเหตุการณ์นั้น จึงทราบด้วยฌานสมาบัติ และพยากรณ์ว่า พระแก้วองค์นี้ เห็นทีจะไม่ได้ดำรงพระชันษาตลอด 5000 พระพุทธศักราช หากจะให้ครบ ควรจะเสด็จไปโปรดสรรพสัตว์ในเบญจประเทศ คือ และ สุวรรณภูมิ
เสด็จลังกาทวีปและแผ่นดินกัมพูชา
พุทธศักราช 800 โดยประมาณในแผ่นดิน พระเชษฐราชโอรสใน ขึ้นครองราชสมบัติเมืองปาฏลีบุตร เป็นช่วงที่เมืองปาฏลีบุตรเกิดมหากลียุค ทั้งมีการจลาจลภายในและข้าศึกภายนอก ผู้คนในปาฏลีบุตรที่เคารพนับถือพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต จึงลงความเห็นกันว่า ถึงเวลาแล้วที่จะต้องอัญเชิญหนีมหาภยันตราย จึงอัญเชิญพระรัตนตรัย และพุทธบริษัท คือพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกตในฐานะพระพุทธ พระไตรปิฎกธรรม ที่ประดิษฐานในวิหารนั้น พร้อมทั้งพระสงฆ์ พ่อค้าวานิชและชาวเมืองปาฏลีบุตรกลุ่มหนึ่ง ลงสู่สำเภาแล้วเดินทางลี้ภัยไปยังลังกาทวีป เมื่อถึงลังกาทวีปพระเจ้าแผ่นดินลังกาทวีปในสมัยนั้น(ไม่ได้ระบุพระนาม) ทรงรับรักษาพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกตเป็นอย่างดียิ่ง และทรงอุปถัมภ์ค้ำชูชาวปาฏลีบุตรเป็นอย่างดีสมควรตามความดีความชอบ
พุทธศักราช 1000 โดยประมาณในแผ่นดินพุกามประเทศ พระมหากษัตริย์ผู้ครองนครขณะนั้นคือพระเจ้าอนุรุทธราชาธิราช(ภาษาบาลี) หรือ มังมหาอโนรธาช่อ(ภาษามอญ) พระองค์เป็นกษัตริย์ที่มีพระอานุภาพมาก บริบูรณ์ด้วยพลช้างพลม้าและทหารมากมาย แต่พระองค์ก็เป็นกษัตริย์ที่ตั้งมั่นอยู่ในสัมมาทิฐิ ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างดียิ่ง พระศีลขันธ์ภิกษุ และพระอาจารย์(ไม่ได้ระบุนาม) ได้ทำการพิจารณาพระไตรปิฎก ท่านเกิดสงสัยว่าพระไตรปิฎกธรรมในแผ่นดินพม่ารามัญทั้งปวงนั้น เห็นจะผิดอักขระไม่ต้องตามกระแสพระพุทธฎีกา จึงทูลพระเจ้าอนุรุทธไปตามนั้น พระเจ้าอนุรุทธได้ทรงสดับก็มีพระศรัทธาเลื่อมใส จึงตรัสถามถึงที่ตั้งของพระไตรปิฎกธรรมฉบับที่ถูกต้อง พระศีลขันธ์จึงทูลว่า พระไตรปิฎกฉบับที่สมบูรณ์ถูกต้องนั้น คือพระไตรปิฎกฉบับพระพุทธโฆษาจารย์เถระที่ลังกาทวีป
พระเจ้าอนุรุทธจึงมีพระราชโองการ ดำรัสสั่งเสนาบดีให้แต่งสำเภาเชิญพระราชสาส์นสองลำ ให้แต่งพระราชสาส์นเป็นภาษามคธจารลงในแผ่นพระสุพรรณบัฏ และเครื่องราชบรรณาการอันเป็นต้นว่าดินสอแก้ว น้ำมันดิน พลอย ทับทิม รัตนชาติหลากชนิด และสิ่งของอื่นๆเป็นอันมาก แล้วโปรดให้อาราธนาพระภิกษุที่ทรงคุณธรรม 8 รูป ซึ่งรวมถึงพระศีลขันธ์ภิกษุและพระอาจารย์ พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์ราชบุรุษ ทั้งราชทูต อุปทูต ตรีทูต และไพร่พลพอสมควร คุมพระราชสาส์นและเครื่องมงคลบรรณาการ โดยที่พระองค์เองประทับสำเภาพระที่นั่ง และพลทหารบริวารอีกหนึ่งลำ รวมเป็นสี่ลำ มุ่งหน้าสู่ลังกาทวีป
ราชทูตพุกามเข้าเฝ้าถวายสาส์น พระเจ้าแผ่นดินลังกาทวีปก็เสด็จรับ ด้วยพระองค์เองที่พระราชวังริมฝั่งอ่าวลังกา พระสังฆราชลังกาก็ให้การอุปสมบทพระสงฆ์พุกามทั้ง 8 รูปเป็นภิกษุบริสุทธิ์พระเจ้าอนุรุทธ ดำรัสสั่งเสนาอำมาตย์ราชบัณฑิต ระดมคัดลอกพระไตรปิฎกและ ซึ่งครั้งนั้น ชาวเมืองลังกาก็ช่วยคัดเพิ่มอีกสำรับหนึ่ง
พระเจ้าอนุรุทธจึงขอพระราชทานพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต จากพระเจ้าขัตติยศรีรามวงศ์ ซึ่งด้วยเป็นพระราชไมตรีอันมาช้านานนั้น จึงต้องจำพระทัยยกให้ แต่ด้วยที่แผ่นศรีเกษตรพุกามนั้น มิได้เป็นแผ่นดินที่พระพุทธรัตนพรรณมณีมรกตจะประดิษฐาน เรือพระที่นั่งพระเจ้าอนุรุทธและเรือพระไตรปิฎกฉบับชาวพุกามคัดลอก สามารถกลับถึงกรุงพุกามได้เพียงสองลำ ส่วนเรือทรงพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต และพระไตรปิฎกฉบับชาวลังกาช่วยคัดลอกถูกพายุมรสุมพัด พลัดเข้าไปทางอ่าวกัมพูชาแทน
พระเจ้านารายณ์ราชสุริยวงศ์ เจ้ากรุงอินทปัตถ์มหานคร แคว้นกัมพูชา มีพระรับสั่งว่า สำเภาซึ่งบรรทุกพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกตกับพระไตรปิฎกนั้น เป็นของพระเจ้ากรุงพุกามจริงและทรงเห็นแก่พระราชไมตรี จึงทรงให้อำมาตย์คุมสำเภากลับไปถวายคืนแก่พระเจ้าอนุรุทธ แต่ส่งกลับไปเพียงพระไตรปิฎกเท่านั้น มิได้ส่งพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกตไปด้วย แต่ถึงมิได้พระแก้วกลับมา พระเจ้าอนุรุทธก็ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และแก้ไขพระไตรปิฎกที่ผิดเพี้ยนทั้งหมดเสร็จสิ้นในปีพ.ศ. 1172
หลังจากที่พระแก้วมรกตได้ประดิษฐานอยู่นานพอสมควร(ไม่ได้ระบุปี) ในแผ่นดิน เกิดพายุฝนขนาดใหญ่ตกเป็นนิจกาลยาวนานหลายเดือน(ไม่ได้ระบุ) พระเจ้าเสน่ห์ราชก็สวรรคตด้วยอุทกภัยนั้น พระมหาเถระ(ไม่ปรากฏพระนาม) ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตขึ้นสำเภาหนีไปยังที่ดอน (อาทิตยราช) เจ้าครอง(หมายถึงอโยธยาโบราณ) ทราบเรื่องจึงเสด็จกระบวนพยุหยาตรา ไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาไว้ในที่ปลอดภัย โดยทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตประดิษฐานในพระมหาเวชยันตปราสาท และได้ประดิษฐานในนครอโยธยาอีกหลายรัชสมัย
ต่อมาเจ้าเมืองกำแพงเพชร ซึ่งเป็นพระบรมญาติกับกษัตริย์อโยธยาสมัยนั้น จึงทูลขอนำพระแก้วมรกตขึ้นไป ประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรอีกหลายรัชสมัย ซึ่งปัจจุบันก็คือ ในอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เจ้านครหิรัญนครเงินยางเชียงแสนทรงทราบว่าพระบรมราชาธิราช เจ้าเมืองกำแพงเพชรมีพระแก้วมรกต พระเจ้าพรหมทัศน์มีพระราชประสงค์ใคร่จะได้ ไปเป็นศรีนครแก่นครเชียงแสนจึงทูลขอต่อพระเจ้ากำแพงเพชร
ด้วยสันถวไมตรีพระเจ้ากำแพงเพชรจึงได้ถวายให้นครเชียงแสน ต่อมานครเชียงแสนเกิดมีศึกกับนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ เจ้าผู้ครองนครเชียงแสนในเวลานั้นได้พิจารณาว่า หากนำพระแก้วมรกต หลบภัยสงครามไปด้วยอาจจะเกิดอันตรายกับพระแก้วมรกตได้ จึงได้ทำการพอกปูนจนทึบและลงรักปิดทองเสมือนพระพุทธรูปสามัญทั่วไป แล้วบรรจุเก็บไว้ในเจดีย์วัดป่าญะในเมืองเชียงแสน จากนั้นกษัตริย์และพระราชวงศ์อพยพผู้คนลงมาทางใต้ ส่วนเมืองเชียงแสนก็ถูกตีแตกและ ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนาในที่สุด เป็นอันจบส่วนของตำนาน เพราะหลังจากมีการพบพระพุทธรัตนพรรณมณีมรกต ในเจดีย์ป่าญะ วัดพระแก้วงามเมืองนั้น ก็เป็นเหตุการณ์ที่ได้มีการบันทึกตรงกันในทุกสำนัก หากแต่คลาดเคลื่อนเรื่องวันเดือนปีไปบ้าง เนื่องจากการนับศักราชต่างกัน
ปัญหาการตีความทางประวัติศาสตร์
พระแก้วมรกต พระบาง และพระพุทธรูปหลายองค์ มักมีตำนานเกี่ยวเนื่องกัน ว่าสร้างในกรุงปาฏลีบุตรบ้าง สร้างในกรุงราชคฤห์บ้าง ซึ่งเป็นการกล่าวอ้างเพื่อทำให้ดูศักดิ์สิทธิ์เพิ่มขึ้น เพราะเมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว ทำให้เชื่อได้ว่าตำนานนั้นเป็นเรื่องที่แต่งเติมขึ้น ในกรณีของพระแก้วฯ นั้น ตำนานระบุว่าสร้างในเมืองปาฏลีบุตร ซึ่งเป็นที่ทราบกันว่าเป็นเมืองหลวงของแคว้นมคธ, ประเทศอินเดีย โดยปี พ.ศ. 500 ที่ตำนานอ้างถึงนั้น อาณาจักรมคธ อยู่ภายใต้การปกครองของ ส่วนพระนาคเสน และพระเจ้ามิลินท์ (ชื่อตามประวัติศาสตร์คือ ) ที่กล่าวอ้างไว้ ครองราชย์ระหว่างพ.ศ. 378 - พ.ศ. 413 อยู่ที่กรุงสาคละ (อยู่ห่างออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือหลายพันกิโลเมตร) ซึ่งไม่ตรงกันทั้งช่วงเวลาและสถานที่ อีกทั้ง ช่วงพ.ศ. 800 ที่ตำนานกล่าวถึงอีกครั้ง ในขณะนั้นแคว้นมคธได้ล่มสลายไปแล้ว อยู่ในช่วงต้นของอาณาจักรคุปตะ จึงเป็นที่เชื่อได้ว่าตำนานช่วงต้นนั้นเห็นจะเป็นเรื่องแต่งขึ้นมา จริงๆแล้วน่าจะสร้างช่วงราวปีพ.ศ. 1600 มีอายุประมาณ 900 ปี เพราะเป็นศิลปะเชียงแสนที่นิยมสร้างพระพุทธรูปจากหินแกะสลัก ที่บอกว่าสร้างพ.ศ. 500 นั้นเป็นเรื่องที่เชื่อถือไม่ได้ ไม่ควรพิมพ์ให้เด็กอ่านและจดจำอีกต่อไป
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnixacepnngankhnkhwatnchbb nganwicy hruxmikhxmulthiphisucnyunynimid bthkhwamnitxngkarphisucnxksr xacepndankarichphasa karsakd iwyakrn rupaebbkarekhiyn hruxkaraeplcakphasaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng phraphuththmhamnirtnptimakr hrux phraaekwmrkt epnphraphuththrupkhubankhuemuxngkhxngchawithy pccubnpradisthanxyuinwdphrasrirtnsasdaram hrux wdphraaekw inphrabrmmharachwng krungethphmhankhr prawtikhwamepnmakhxngphraaekwmrktniidmiklawiwintanansungmiraylaexiyddngniphraphuththmhamnirtnptimakrsthapnaphraphuththrtnphrrnmnimrkttananphraaekwmrktedimrabuwasrangph s 500 srangodyethwdainpraethsxinediy aettxmaphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw rchkalthi 4 thrngphrarachniphnwa srangodychangoynk imichsranginxinediy thinaechuxthuxcring khuxprawtitngaetechiyngrayepntnip kxnhnaniepneruxngaetngthngsin dngni tamtananphraaekwmrkt inbnthukaenbthayphrarachphngsawdarehnux rabuiwwa phraaekwmrktsrangkhuninpi phuththskrach 500 odyphranakhesnethra wdxoskaram krungpatlibutr inaephndinphraecamilinth emnnedxr odyerimaerk erimcakphranakhesnethraidpwarna casrangphraphuththrupihsubtxphraphuththsasnacrd 5000 phraphuththskrach cungidepnkngwlwacahawsduidmasrangphraphuththrupni dwypriwitkwa hakichim kcaimxyuthung 5000 phrachnsa hakichehlk kxaccathuknaiphlxmlalayemuxkhrawcamiphuthalay hakcaichhinsilathrrmda kcaduepnphraphuththrupsamythwip cungidtklngplngiceluxkichaekwmnimacahlkphraphuththrup ephiyngaetyngkngwlwacaichaekwmnichnidid karnn smedcphraxmrinthrathirach phrxmkbphrawissukrrmethphbutr idcaaelngkayepnmanphthrrmda ipkrabnmskarphrakhunecawa tnthngsxngepnphxkhaedinthangmahlaythi idipphbaekwrtnosphnmniochti xnmirttnaykdilkechlim 3000 dwng siaedngsukis thiekhawibulbrrpht ewlubrrpht n dinaednhangiklophn khidwaepnaekwthiehmaasmkhwr aekkarnamacahlkphraphuththrupihsubphraphuththsasnacrd 5000 phraphuththskrach waaelwdngnn emuxthungekhawibulbrrpht smedcphraxmrinthrathirach cungoprdihphrawissukrrmethphbutr ekhaipnaaekwrtnosphnmniochtima aetphrawissukrrmthrngkrabthulwa yksphuefaaekwnnmiyxmmxbih smedcphraxmrinthrathirachcungesdcdwyphraxngkhexng phwkykskyngkrabthulimthwayaekwrtnosphnmniochtiechnedim odythulehtuphlprakxbwa aekwniepnaekwkhubuybarmiphrabrmsulicxmikrlas epnaekwchnmhackrphrrdi misamarththwayihidcring smedcphraxmrinthrathirachcungtrstxbwa cathrngnaipcahlkphraphuththrupihsubthxdphraphuththsasnatlxdlwng 5000 phrachnsa ehlaykscungprachumknaelalngkhwamehn mxbaekwolkathiphyrttnayk xnmirtnaykdilkechlim 1000 dwng siekhiywthub hykxxn ihipaethn emuxthungwdxoskaram cungthrngmxbihphranakhesn aelaphrawisukrrmcungthrngcahlkphraphuththrupxngkhnithwaydngphraprasngkh emuxcahlkesrceriybrxyepnphraphuththrupthimiphuththlksnangdngam tamprasngkhkhxngphranakhesnethraaelw phranakhesncungbxkbuyipyngxubask xubasika srangmhawihariklkbxoskaram aelwxyechiyphraaekwmrktkhunpradisthaniwehnuxaethnrtn aelapthmthapnathwayphranamwa phraphuththrtnphrrnmnimrkt nxkcakniintananyngrabudwywakhnathipradisthanxyunn phxkhawanich aelaphramharachathirachcakpraethstangthimaskkara tangphbehnphraaekwmrkteplngphrarsmixxkmangamhathiepriybmiid epnthinaphiswngyindiyingnk phranakhesncungidbrrcuphrabrmsaririkthatu lngipinphraphuththrtnphrrnmnimrkt 7 phraxngkh khuxphraomli phranlat phranaphi phrahtthsay khwa aelaphraephlasay khwa aetemuxbrrcuphrabrmsaririkthatuaelwxyechiykhunpradisthanaelwnn ekidehtukaraephndinihwkhun phranakhesnehnehtukarnnn cungthrabdwychansmabti aelaphyakrnwa phraaekwxngkhni ehnthicaimiddarngphrachnsatlxd 5000 phraphuththskrach hakcaihkhrb khwrcaesdcipoprdsrrphstwinebycpraeths khux aela suwrrnphumiesdclngkathwipaelaaephndinkmphuchaphuththskrach 800 odypramaninaephndin phraechsthrachoxrsin khunkhrxngrachsmbtiemuxngpatlibutr epnchwngthiemuxngpatlibutrekidmhakliyukh thngmikarclaclphayinaelakhasukphaynxk phukhninpatlibutrthiekharphnbthuxphraphuththrtnphrrnmnimrkt cunglngkhwamehnknwa thungewlaaelwthicatxngxyechiyhnimhaphyntray cungxyechiyphrartntry aelaphuththbristh khuxphraphuththrtnphrrnmnimrktinthanaphraphuthth phraitrpidkthrrm thipradisthaninwiharnn phrxmthngphrasngkh phxkhawanichaelachawemuxngpatlibutrklumhnung lngsusaephaaelwedinthangliphyipynglngkathwip emuxthunglngkathwipphraecaaephndinlngkathwipinsmynn imidrabuphranam thrngrbrksaphraphuththrtnphrrnmnimrktepnxyangdiying aelathrngxupthmphkhachuchawpatlibutrepnxyangdismkhwrtamkhwamdikhwamchxb phuththskrach 1000 odypramaninaephndinphukampraeths phramhakstriyphukhrxngnkhrkhnannkhuxphraecaxnuruththrachathirach phasabali hrux mngmhaxonrthachx phasamxy phraxngkhepnkstriythimiphraxanuphaphmak briburndwyphlchangphlmaaelathharmakmay aetphraxngkhkepnkstriythitngmnxyuinsmmathithi thanubarungphraphuththsasnaxyangdiying phrasilkhnthphiksu aelaphraxacary imidrabunam idthakarphicarnaphraitrpidk thanekidsngsywaphraitrpidkthrrminaephndinphmaramythngpwngnn ehncaphidxkkhraimtxngtamkraaesphraphuththdika cungthulphraecaxnuruththiptamnn phraecaxnuruththidthrngsdbkmiphrasrththaeluxmis cungtrsthamthungthitngkhxngphraitrpidkthrrmchbbthithuktxng phrasilkhnthcungthulwa phraitrpidkchbbthismburnthuktxngnn khuxphraitrpidkchbbphraphuththokhsacaryethrathilngkathwip phraecaxnuruththcungmiphrarachoxngkar darssngesnabdiihaetngsaephaechiyphrarachsasnsxngla ihaetngphrarachsasnepnphasamkhthcarlnginaephnphrasuphrrnbt aelaekhruxngrachbrrnakarxnepntnwadinsxaekw namndin phlxy thbthim rtnchatihlakchnid aelasingkhxngxunepnxnmak aelwoprdihxarathnaphraphiksuthithrngkhunthrrm 8 rup sungrwmthungphrasilkhnthphiksuaelaphraxacary phrxmdwyesnaxamatyrachburus thngrachthut xupthut trithut aelaiphrphlphxsmkhwr khumphrarachsasnaelaekhruxngmngkhlbrrnakar odythiphraxngkhexngprathbsaephaphrathinng aelaphlthharbriwarxikhnungla rwmepnsila munghnasulngkathwip rachthutphukamekhaefathwaysasn phraecaaephndinlngkathwipkesdcrb dwyphraxngkhexngthiphrarachwngrimfngxawlngka phrasngkhrachlngkakihkarxupsmbthphrasngkhphukamthng 8 rupepnphiksubrisuththiphraecaxnuruthth darssngesnaxamatyrachbnthit radmkhdlxkphraitrpidkaela sungkhrngnn chawemuxnglngkakchwykhdephimxiksarbhnung phraecaxnuruththcungkhxphrarachthanphraphuththrtnphrrnmnimrkt cakphraecakhttiysriramwngs sungdwyepnphrarachimtrixnmachanannn cungtxngcaphrathyykih aetdwythiaephnsriekstrphukamnn miidepnaephndinthiphraphuththrtnphrrnmnimrktcapradisthan eruxphrathinngphraecaxnuruththaelaeruxphraitrpidkchbbchawphukamkhdlxk samarthklbthungkrungphukamidephiyngsxngla swneruxthrngphraphuththrtnphrrnmnimrkt aelaphraitrpidkchbbchawlngkachwykhdlxkthukphayumrsumphd phldekhaipthangxawkmphuchaaethn phraecanaraynrachsuriywngs ecakrungxinthptthmhankhr aekhwnkmphucha miphrarbsngwa saephasungbrrthukphraphuththrtnphrrnmnimrktkbphraitrpidknn epnkhxngphraecakrungphukamcringaelathrngehnaekphrarachimtri cungthrngihxamatykhumsaephaklbipthwaykhunaekphraecaxnuruthth aetsngklbipephiyngphraitrpidkethann miidsngphraphuththrtnphrrnmnimrktipdwy aetthungmiidphraaekwklbma phraecaxnuruththkthrngthanubarungphraphuththsasna aelaaekikhphraitrpidkthiphidephiynthnghmdesrcsininpiph s 1172esdcprathb echiyngaesn lanna lanchanghlngcakthiphraaekwmrktidpradisthanxyunanphxsmkhwr imidrabupi inaephndin ekidphayufnkhnadihytkepnnickalyawnanhlayeduxn imidrabu phraecaesnhrachkswrrkhtdwyxuthkphynn phramhaethra impraktphranam idxyechiyphraaekwmrktkhunsaephahniipyngthidxn xathityrach ecakhrxng hmaythungxoythyaobran thraberuxngcungesdckrabwnphyuhyatra ipxyechiyphraaekwmrktmaiwinthiplxdphy odythrngxyechiyphraaekwmrktpradisthaninphramhaewchyntprasath aelaidpradisthaninnkhrxoythyaxikhlayrchsmy txmaecaemuxngkaaephngephchr sungepnphrabrmyatikbkstriyxoythyasmynn cungthulkhxnaphraaekwmrktkhunip pradisthanthiemuxngkaaephngephchrxikhlayrchsmy sungpccubnkkhux inxuthyanprawtisastrkaaephngephchr ecankhrhirynkhrenginyangechiyngaesnthrngthrabwaphrabrmrachathirach ecaemuxngkaaephngephchrmiphraaekwmrkt phraecaphrhmthsnmiphrarachprasngkhikhrcaid ipepnsrinkhraeknkhrechiyngaesncungthulkhxtxphraecakaaephngephchr dwysnthwimtriphraecakaaephngephchrcungidthwayihnkhrechiyngaesn txmankhrechiyngaesnekidmisukkbnphburisrinkhrphingkhechiyngihm ecaphukhrxngnkhrechiyngaesninewlannidphicarnawa haknaphraaekwmrkt hlbphysngkhramipdwyxaccaekidxntraykbphraaekwmrktid cungidthakarphxkpuncnthubaelalngrkpidthxngesmuxnphraphuththrupsamythwip aelwbrrcuekbiwinecdiywdpayainemuxngechiyngaesn caknnkstriyaelaphrarachwngsxphyphphukhnlngmathangit swnemuxngechiyngaesnkthuktiaetkaela thukrwmepnswnhnungkhxngxanackrlannainthisud epnxncbswnkhxngtanan ephraahlngcakmikarphbphraphuththrtnphrrnmnimrkt inecdiypaya wdphraaekwngamemuxngnn kepnehtukarnthiidmikarbnthuktrngkninthuksank hakaetkhladekhluxneruxngwneduxnpiipbang enuxngcakkarnbskrachtangknpyhakartikhwamthangprawtisastrphraaekwmrkt phrabang aelaphraphuththruphlayxngkh mkmitananekiywenuxngkn wasranginkrungpatlibutrbang sranginkrungrachkhvhbang sungepnkarklawxangephuxthaihduskdisiththiephimkhun ephraaemuxphicarnacakhlkthanthangprawtisastraelw thaihechuxidwatanannnepneruxngthiaetngetimkhun inkrnikhxngphraaekw nn tananrabuwasranginemuxngpatlibutr sungepnthithrabknwaepnemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhth praethsxinediy odypi ph s 500 thitananxangthungnn xanackrmkhth xyuphayitkarpkkhrxngkhxng swnphranakhesn aelaphraecamilinth chuxtamprawtisastrkhux thiklawxangiw khrxngrachyrahwangph s 378 ph s 413 xyuthikrungsakhla xyuhangxxkipthangtawntkechiyngehnuxhlayphnkiolemtr sungimtrngknthngchwngewlaaelasthanthi xikthng chwngph s 800 thitananklawthungxikkhrng inkhnannaekhwnmkhthidlmslayipaelw xyuinchwngtnkhxngxanackrkhupta cungepnthiechuxidwatananchwngtnnnehncaepneruxngaetngkhunma cringaelwnacasrangchwngrawpiph s 1600 mixayupraman 900 pi ephraaepnsilpaechiyngaesnthiniymsrangphraphuththrupcakhinaekaslk thibxkwasrangph s 500 nnepneruxngthiechuxthuximid imkhwrphimphihedkxanaelacdcaxiktxipwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phraaekwmrktxangxing