ตัจญ์วีด ตามความหมายในพจนานุกรม หมายถึง ความสมบูรณ์ การชื่นชม การทำดี แต่ความหมายตามวิชาการ หมายถึง หลักการและกฎเกณฑ์ที่ช่วยในการอ่านอัลกุรอานให้ดียิ่งขึ้น ตัจญ์วีด จะนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงอักขระอย่างถูกต้องจากตำแหน่งฐานของการเปล่งเสียง คุณสมบัติของเสียงแต่ละอักขระหรือเมื่อมันผสมกับพญชยัญชนะอื่น อีกกฎเกณฑ์หนึ่งที่สำคัญ คือ การหยุดอ่านและการอ่านเชื่อมต่อประโยคของอัลกุรอานตามสัญลักษณ์และความหมายของ
อัลกุรอานจะถูกอ่านตามหลักการอ่านทั้งเจ็ดอันเป็นที่รู้จักกัน แต่การอ่านของท่าน ที่รายงานจากท่าน เป็นการอ่านที่น่าเชื่อถือและถูกรู้จักกันในโลกอิสลาม สามารถแบ่งตัจญ์ออกเป็นสองภาค คือ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตัจญ์วีดภาคทฤษฎี หมายรวมถึงประมวลหลักการอ่านและกฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งบรรดานักวิชาการมุสลิมได้วางกฎเกณฑ์ไว้เพื่อจะได้อ่านออกเสียงตัวพยัญชนะและคำของอัลกุรอานได้อย่างถูกต้อง เช่น เรื่องตำแหน่งฐานของการเปล่งแต่ละอักขระ คุณสมบัติของพยัญชนะต่างๆ พยัญชนะที่ออกเสียงบาง พยัญชนะที่ออกเสียงหนา การควบพยัญชนะ (อิดฆอม) พยัญชนะที่ออกเสียงลากยาว พยัญชนะที่ออกเสียงสั้น และเนื้อหาอื่นๆในลักษณะนี้ ส่วนตัจญ์วีดภาคปฏิบัติ หมายถึง เทคนิคและศิลปะในการอ่านอัลกุรอานบนพื้นฐานการออกเสียงพยัญชนะที่ถูกต้อง ด้วย ในภาคนี้ขึ้นอยู่กับการฝึกซ้อม ตัจญ์วีด เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่นักอ่าน (กอรี) ต้องฝึกฝนจนชำนาญ
เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆของตัจญ์ในกุรอาน
เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้:
1. สระ ( ฟัตหะฮ์ ฎอมมะฮ์ กัสเราะฮ์ รอฟอ์ นัศบ์ ญัร อะลิฟมัดดี ยามัดดี วาวมัดดี สุกูน)
2. เครื่องหมายการเว้นวรรค ( م หมายถึงจำเป็นต้องหยุด قلی หมายถึงเว้นวรรคดีกว่า صلی หมายถึงอ่านต่อดีกว่า جหมายถึงอนุญาตให้เว้นวรรค
3. เครื่องหมายของหลักการอ่าน ( มัด ชัดดะฮ์ วัศล์ อิชบาอ์ อิมาละฮ์ ฆุนนะฮ์ สักต์ อิดฆอม อิซฮาร อิคฟา อิกล๊าบ พยัญชนะที่ไม่อ่านออกเสียง) เครื่องหมายที่ใช้กันในอดีต ได้แก่
กอฟฟะฮ์ ط หมายถึงเว้นวรรคอย่างสมบูรณ์ ک หมายถึง เพียงพอ ز -ص-ق- وجه หมายถึง (ดี) صل หมายถึง ( ไม่ดี) صب หมายถึงอ่านเชื่อมกับประโยคหลัง صق หมายถึงอ่านเชื่อมกับประโยคก่อนหน้า
อ้างอิง
- ستایشگر، مهدی. واژه نامهٔ موسیقی ایران زمین جلد اوّل. چاپ دوّم. تهران: اطلاعات، ۱۳۸۱. ISBN 964-423-305-0(جلد 1).
เชิงอรรถ
- «تفاوت تجوید با قرائت» 2009-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (فارسی). اندیشه قم. بازبینیشده در ۲۴ آذر ۱۳۸۶.
- ท่านอาซิม คือนักอ่านคนหนึ่งที่เลืองชื่อในโลกอิสลามپرش به بالا↑ عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است.
- پرش به بالا↑ http://telavat.com/Tajvid/Tajvid.aspx 2015-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- پرش به بالا↑ دانشنامه جهان اسلام. سرواژه: تجوید
- پرش به بالا↑ ستایشگر، ۲۳۱
- پرش به بالا↑ الصافی، ج1، ص71؛ النشر، ج1، ص209؛ بحارالانوار، ج81، ص188
- پرش به بالا↑ تجویدالقرآن ازبیگلری
-
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help)) - عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-02. สืบค้นเมื่อ 2017-10-18.
- دانشنامه جهان اسلام. سرواژه: تجوید
- تجویدالقرآن ازبیگلری
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
tcywidtamkhwamhmayinphcnanukrm hmaythung khwamsmburn karchunchm karthadi aetkhwamhmaytamwichakar hmaythung hlkkaraelakdeknththichwyinkarxanxlkurxanihdiyingkhun tcywid canaesnxekiywkbwithikarxxkesiyngxkkhraxyangthuktxngcaktaaehnngthankhxngkareplngesiyng khunsmbtikhxngesiyngaetlaxkkhrahruxemuxmnphsmkbphychyychnaxun xikkdeknthhnungthisakhy khux karhyudxanaelakarxanechuxmtxpraoykhkhxngxlkurxantamsylksnaelakhwamhmaykhxng xlkurxancathukxantamhlkkarxanthngecdxnepnthiruckkn aetkarxankhxngthan thirayngancakthan epnkarxanthinaechuxthuxaelathukruckkninolkxislam samarthaebngtcyxxkepnsxngphakh khux phakhthvsdiaelaphakhptibti tcywidphakhthvsdi hmayrwmthungpramwlhlkkarxanaelakdeknthtang sungbrrdankwichakarmuslimidwangkdeknthiwephuxcaidxanxxkesiyngtwphyychnaaelakhakhxngxlkurxanidxyangthuktxng echn eruxngtaaehnngthankhxngkareplngaetlaxkkhra khunsmbtikhxngphyychnatang phyychnathixxkesiyngbang phyychnathixxkesiynghna karkhwbphyychna xidkhxm phyychnathixxkesiynglakyaw phyychnathixxkesiyngsn aelaenuxhaxuninlksnani swntcywidphakhptibti hmaythung ethkhnikhaelasilpainkarxanxlkurxanbnphunthankarxxkesiyngphyychnathithuktxng dwy inphakhnikhunxyukbkarfuksxm tcywid epnsilpaxyanghnungthinkxan kxri txngfukfncnchanay ekhruxnghmayaelarupaebbtangkhxngtcyinkurxan ekhruxnghmayaelarupaebbtang miraylaexiyddngni 1 sra fthah dxmmah kseraah rxfx nsb yr xalifmddi yamddi wawmddi sukun 2 ekhruxnghmaykarewnwrrkh م hmaythungcaepntxnghyud قلی hmaythungewnwrrkhdikwa صلی hmaythungxantxdikwa جhmaythungxnuyatihewnwrrkh 3 ekhruxnghmaykhxnghlkkarxan md chddah wsl xichbax ximalah khunnah skt xidkhxm xishar xikhfa xiklab phyychnathiimxanxxkesiyng ekhruxnghmaythiichkninxdit idaek kxffah ط hmaythungewnwrrkhxyangsmburn ک hmaythung ephiyngphx ز ص ق وجه hmaythung di صل hmaythung imdi صب hmaythungxanechuxmkbpraoykhhlng صق hmaythungxanechuxmkbpraoykhkxnhnaxangxingستایشگر مهدی واژه نامه موسیقی ایران زمین جلد او ل چاپ دو م تهران اطلاعات ۱۳۸۱ ISBN 964 423 305 0 جلد 1 echingxrrth تفاوت تجوید با قرائت 2009 03 04 thi ewyaebkaemchchin فارسی اندیشه قم بازبینی شده در ۲۴ آذر ۱۳۸۶ thanxasim khuxnkxankhnhnungthieluxngchuxinolkxislamپرش به بالا عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است پرش به بالا http telavat com Tajvid Tajvid aspx 2015 02 02 thi ewyaebkaemchchin پرش به بالا دانشنامه جهان اسلام سرواژه تجوید پرش به بالا ستایشگر ۲۳۱ پرش به بالا الصافی ج1 ص71 النشر ج1 ص209 بحارالانوار ج81 ص188 پرش به بالا تجویدالقرآن ازبیگلری a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help عاصم یکی از هفت قراء مشهور جهان اسلام است khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 02 02 subkhnemux 2017 10 18 دانشنامه جهان اسلام سرواژه تجوید تجویدالقرآن ازبیگلری