ดนตรีสมัยบารอก หรือบางแห่งเรียกว่า ดนตรีบารอก (อังกฤษ: Baroque music) เป็นลักษณะดนตรียุโรปคลาสสิก ราว ค.ศ. 1600-1750 เกิดขึ้นหลัง และเกิดก่อนดนตรีสมัยคลาสสิก มีคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคคือ โยฮัน เซบัสทีอัน บัค, อันโตนีโอ วีวัลดี, ฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี, จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล, , , , ในยุคนี้ผู้ประพันธ์เพลงและผู้แสดงจะใช้องค์ประกอบทางด้านดนตรีที่ซับซ้อนมากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องระบบเสียงและได้พัฒนาการเล่นเครื่องดนตรีแบบใหม่ ดนตรีสมัยบารอกได้ขยับขยายขนาด ความกว้าง ความซับซ้อนของการแสดงเครื่องดนตรี
ที่มาของคำ
ทางด้านดนตรี คำว่า "บารอก" มีความหมายแนวทางที่กว้างจากภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง โดยมากในยุโรป เป็นงานดนตรีที่ประพันธ์ในช่วง 160 ปีก่อน การใช้คำว่า "บารอก" อย่างมีระบบทางด้านดนตรี เพิ่งมีการพัฒนาไม่นานนี้ เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1919 เมื่อ พยายามที่จะประยุกต์ลักษณะ 5 ประการของทฤษฎีดนตรีที่มีระบบของ ในภาษาอังกฤษ คำนี้เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1940 ในงานเขียนของแลงและบูคอฟเซอร์ ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ยังคงถือว่ายังมีการโต้เถียงกันในวงการศึกษาอยู่ โดยเฉพาะในฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ถึงแม้กระนั้นก็ได้รวมเพลงที่มีความหลากหลายในลักษณะดนตรีของจาโกโป เปรี, โดเมนีโก สการ์ลัตตี และโยฮัน คริสทีอัน บัค รวมเข้าใช้เป็นคำเดียว คือ "ดนตรีสมัยบารอก" (Baroque music) ขณะนี้คำนี้กลายเป็นคำที่ใช้แพร่หลายและยอมรับในแนวเพลงที่กว้างเช่นนี้ และยังมีประโยชน์ในการจำแนกแนวเพลงก่อนหน้านี้ (สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา) และหลังจากนี้ (คลาสสิก) ในช่วงเวลาประวัติศาสตร์ดนตรี
ลักษณะ
ในสมัยบารอก เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีหรือเสียงร้องเล่นประชันกัน เช่น เสียงร้องประชันกับเครื่องดนตรี หรือการเดี่ยวประชันเครื่องดนตรีบ้าง ซึ่งเรียกกันว่า Stile Concertante มีการใช้ บัสโซกอนตีนูโว (Basso Continuo) คือการที่เสียงเบส (เสียงต่ำ) เคลื่อนที่ตลอดเวลา โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวเลขบอกถึงการเคลื่อนที่ไปของเบส รวมถึงเสียงแนวอื่น ๆ ด้วย ทำให้เกิดคอร์ดขึ้นมา เครื่องดนตรีที่ใช้เล่นบาสโซคอนตินิวโออาจเป็นคีย์บอร์ด เช่น ออร์แกน ฮาร์ปซิคอร์ด หรือเป็นกลุ่มของเครื่องดนตรี เช่น วิโอลา เชลโล บาสซูน
มีการใช้บันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์แทนโหมด (Mode) รูปพรรณของเพลงเป็นแบบสอดประสานทำนอง ที่เรียกว่า Contrapuntal เริ่มมีการใช้การประสานเสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) คือ การเน้นความสำคัญของทำนองหลักโดยมีเสียงอื่นเล่นเสียงประสานคลอประกอบ มีการด้นสด (Improvisation) ของนักดนตรี โดยนักดนตรีจะแต่งเติมบทเพลง เริ่มมีการกำหนดความเร็วจังหวะของเพลง และความหนักเบาของเพลงลงในผลงานการประพันธ์ เช่น Adagio Andante และAllegro
รูปแบบของเพลงบางประเภทมีการพัฒนาจนมีแบบแผนแน่นอน ได้แก่ ลักษณะของเพลงร้องของดนตรีสมัยบารอก ได้แก่ โอเปร่า คันตาตา และออราทอริโอ ส่วนลักษณะรูปแบบ (Form) ของเพลงบรรเลง ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต และเพลงชุด (Suite) ซึ่งเพลงชุดเป็นการนำเพลงจังหวะเต้นรำที่มีหลายลักษณะมาบรรเลงต่อกันเป็นท่อน ๆ เพลงจังหวะเต้นรำแบบต่าง ๆ ที่มีอยู่ในเพลงชุด ได้แก่ Allemande, Courante, Sarabande, Gavotte, Bourree, Minuet และGigue เป็นต้น
เพลงโบสถ์ยังเป็นที่นิยมในการประพันธ์ เพลงที่ประพันธ์กันในยุคนี้ คือ โมเท็ต คันตาตา ออราทอริโอ และแพสชั่น (Passion) คือเพลงที่บรรยายเกี่ยวกับพระเยซูถูกตรึงกางเขน เป็นต้น
เครื่องดนตรีของดนตรีแนวนี้ คือการใช้เครื่องสายตระกูลวิโอลค่อย ๆ ลดความนิยมในการใช้ลง คงหลงเหลืออยู่เพียงการพัฒนาที่กลายมาเป็นดับเบิลเบสในปัจจุบัน เครื่องสายที่เข้ามาแทนที่คือ ตระกูลไวโอลิน ซึ่งประกอบด้วย ไวโอลิน วิโอล่า และเชลโล ออร์แกนได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น และเริ่มมีการพัฒนาเปียโน เครื่องดนตรีเครื่องเป่าที่ใช้ในยุคนี้ คือ โอโบ บาสซูน และฟลูต เครื่องดนตรีที่ใช้ในการผสมวงของวงออร์เคสตรายังไม่มีการกำหนดเป็นที่แน่นอน
การบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนาจนเป็นลักษณะการบันทึกโน้ตที่ใช้กันในปัจจุบัน คือ การใช้บรรทัดห้าเส้น การใช้กุญแจโซ (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์ (C Clef) มีการใช้ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนค่าความยาวโน้ต และตำแหน่งของตัวโน้ตบนบรรทัดห้าเส้นแทนระดับเสียง และยังมีตัวเลขบอก มี และสัญลักษณ์อื่น ๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี
คีตกวี
- (Dieterich Buxtehude)
- โยฮัน พัคเค็ลเบิล (Johann Pachelbel)
- (Alessando Scarlatti)
- อันโตนีโอ วีวัลดี (Antonio Vivaldi)
- โยฮัน เซบัสทีอัน บัค (Johann Sebastian Bach)
- จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล (Georg Friedrich Händel)
- ฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี (Jean Baptist Lully)
- (Jean-Philippe Rameau)
- (Georg Phillip Telemann)
- (Henry Purcell)
อ้างอิง
- Palisca, Grove online
- Sachs 1919.
- Palisca, Grove Online
- Palisca, Grove online
- Palisca, Claude. "Baroque", Grove Music Online, ed. L. Macy (Accessed August 21, 2007), (subscription access) 2008-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Sachs, Curt. 1919. "‘Barokmusik". Jahrbuch der Musikbibliothek Peters 1919, 7–15.
- คมสันต์ วงค์วรรณ์. ดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551
- ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dntrismybarxk hruxbangaehngeriykwa dntribarxk xngkvs Baroque music epnlksnadntriyuorpkhlassik raw kh s 1600 1750 ekidkhunhlng aelaekidkxndntrismykhlassik mikhitkwithiyingihythisudinyukhkhux oyhn esbsthixn bkh xnotniox wiwldi chxng batist luwli cxrc fridrik aehnedil inyukhniphupraphnthephlngaelaphuaesdngcaichxngkhprakxbthangdandntrithisbsxnmakkhun ekidkarepliynaeplngeruxngrabbesiyngaelaidphthnakarelnekhruxngdntriaebbihm dntrismybarxkidkhybkhyaykhnad khwamkwang khwamsbsxnkhxngkaraesdngekhruxngdntrithimakhxngkhathangdandntri khawa barxk mikhwamhmayaenwthangthikwangcakphumisastrthikwangkhwang odymakinyuorp epnngandntrithipraphnthinchwng 160 pikxn karichkhawa barxk xyangmirabbthangdandntri ephingmikarphthnaimnanni ekidkhuninpi kh s 1919 emux phyayamthicaprayuktlksna 5 prakarkhxngthvsdidntrithimirabbkhxng inphasaxngkvs khaniekidkhuninkhristthswrrs 1940 innganekhiynkhxngaelngaelabukhxfesxr inchwngplaykhristthswrrs 1960 yngkhngthuxwayngmikarotethiyngkninwngkarsuksaxyu odyechphaainfrngessaelashrachxanackr thungaemkrannkidrwmephlngthimikhwamhlakhlayinlksnadntrikhxngcaokop epri odemniok skarltti aelaoyhn khristhixn bkh rwmekhaichepnkhaediyw khux dntrismybarxk Baroque music khnanikhaniklayepnkhathiichaephrhlayaelayxmrbinaenwephlngthikwangechnni aelayngmipraoychninkarcaaenkaenwephlngkxnhnani smyfunfusilpwithya aelahlngcakni khlassik inchwngewlaprawtisastrdntrilksnainsmybarxk erimmikarichekhruxngdntrihruxesiyngrxngelnprachnkn echn esiyngrxngprachnkbekhruxngdntri hruxkarediywprachnekhruxngdntribang sungeriykknwa Stile Concertante mikarich bsoskxntinuow Basso Continuo khuxkarthiesiyngebs esiyngta ekhluxnthitlxdewla odyichsylksnepntwelkhbxkthungkarekhluxnthiipkhxngebs rwmthungesiyngaenwxun dwy thaihekidkhxrdkhunma ekhruxngdntrithiichelnbasoskhxntiniwoxxacepnkhiybxrd echn xxraekn harpsikhxrd hruxepnklumkhxngekhruxngdntri echn wioxla echlol bassun mikarichbnidesiyngemecxr aelabnidesiyngimenxraethnohmd Mode rupphrrnkhxngephlngepnaebbsxdprasanthanxng thieriykwa Contrapuntal erimmikarichkarprasanesiyngaebbohomofni Homophony khux karennkhwamsakhykhxngthanxnghlkodymiesiyngxunelnesiyngprasankhlxprakxb mikardnsd Improvisation khxngnkdntri odynkdntricaaetngetimbthephlng erimmikarkahndkhwamerwcnghwakhxngephlng aelakhwamhnkebakhxngephlnglnginphlngankarpraphnth echn Adagio Andante aelaAllegro rupaebbkhxngephlngbangpraephthmikarphthnacnmiaebbaephnaennxn idaek lksnakhxngephlngrxngkhxngdntrismybarxk idaek oxepra khntata aelaxxrathxriox swnlksnarupaebb Form khxngephlngbrrelng idaek osnata khxnaechrot aelaephlngchud Suite sungephlngchudepnkarnaephlngcnghwaetnrathimihlaylksnamabrrelngtxknepnthxn ephlngcnghwaetnraaebbtang thimixyuinephlngchud idaek Allemande Courante Sarabande Gavotte Bourree Minuet aelaGigue epntn ephlngobsthyngepnthiniyminkarpraphnth ephlngthipraphnthkninyukhni khux ometht khntata xxrathxriox aelaaephschn Passion khuxephlngthibrryayekiywkbphraeysuthuktrungkangekhn epntn ekhruxngdntrikhxngdntriaenwni khuxkarichekhruxngsaytrakulwioxlkhxy ldkhwamniyminkarichlng khnghlngehluxxyuephiyngkarphthnathiklaymaepndbebilebsinpccubn ekhruxngsaythiekhamaaethnthikhux trakuliwoxlin sungprakxbdwy iwoxlin wioxla aelaechlol xxraeknidrbkarphthnaihdikhun aelaerimmikarphthnaepiyon ekhruxngdntriekhruxngepathiichinyukhni khux oxob bassun aelaflut ekhruxngdntrithiichinkarphsmwngkhxngwngxxrekhstrayngimmikarkahndepnthiaennxn karbnthuktwontidrbkarphthnacnepnlksnakarbnthukontthiichkninpccubn khux karichbrrthdhaesn karichkuyaecos G Clef kuyaecfa F Clef kuyaecxlot aelakuyaecethenxr C Clef mikarichtwontaelatwhyudaethnkhakhwamyawont aelataaehnngkhxngtwontbnbrrthdhaesnaethnradbesiyng aelayngmitwelkhbxk mi aelasylksnxun ephuxichbnthuklksnakhxngesiyngdntrikhitkwi Dieterich Buxtehude oyhn phkhekhlebil Johann Pachelbel Alessando Scarlatti xnotniox wiwldi Antonio Vivaldi oyhn esbsthixn bkh Johann Sebastian Bach cxrc fridrik aehnedil Georg Friedrich Handel chxng batist luwli Jean Baptist Lully Jean Philippe Rameau Georg Phillip Telemann Henry Purcell xangxingPalisca Grove online Sachs 1919 Palisca Grove Online Palisca Grove online Palisca Claude Baroque Grove Music Online ed L Macy Accessed August 21 2007 subscription access 2008 05 16 thi ewyaebkaemchchin Sachs Curt 1919 Barokmusik Jahrbuch der Musikbibliothek Peters 1919 7 15 khmsnt wngkhwrrn dntritawntk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2551 nruthth suththcitt sngkhitniym khwamsabsungindntritawntk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2548