บทความนี้ไม่มีจาก |
ฌ็อง วีลียาม ฟริตส์ ปียาแฌ (ฝรั่งเศส: Jean William Fritz Piaget, ออกเสียง: [ʒɑ̃ pjaʒɛ]; 6 สิงหาคม ค.ศ. 1896 – 16 กันยายน ค.ศ. 1980) นักจิตวิทยาชาวสวิส มีชื่อเสียงจากการศึกษาพัฒนาการทางปัญญาของเด็ก โดยได้สรุปออกมาเป็น (Piaget's theory of cognitive development)
ปียาแฌเกิดที่เมืองเนอชาแตล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จบปริญญาเอกทางชีววิทยา แต่หันมาสนใจทางจิตวิทยา โดยอาศัยประสบการณ์จากการเลี้ยงลูก 3 คน เขาได้เฝ้าสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของลูก ๆ เกี่ยวกับกิจกรรมที่ลูกทำได้หรือทำไม่ได้ตามลำดับช่วงอายุ สรุปเป็นทฤษฎีของฌ็อง ปียาแฌ แบ่งพัฒนาการของมนุษย์ออกเป็น 4 ขั้น ได้แก่
- ขั้น sensorimotor stage ตั้งแต่แรกเกิดถึง 2 ขวบ เป็นขั้นของการใช้ประสาทสัมผัสของมนุษย์
- ขั้น preoperational stage ตั้งแต่อายุ 2–7 ขวบ เป็นขั้นก่อนความคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล
- ขั้น concrete operational stage ตั้งแต่อายุ 7–11 ขวบ จะเริ่มเข้าใจความคิดที่เป็นเชิงรูปธรรมอย่างดี และยังสามารถใช้ความคิดเหตุผลมากกว่าวัยที่แล้ว (มีการใช้เหตุผลไปและกลับ)
- ขั้น formal operational stage ตั้งแต่อายุ 11–15 ขวบ มีการใช้ความคิดเข้าใจ มีเหตุมีผลในเชิงนามธรรม
เขาเป็นนักจิตวิทยากลุ่มที่เน้นความรู้ความเข้าใจ (cognitive) กล่าวว่า เด็ก 3–5 ขวบ เรียนรู้พฤติกรรมทางสังคมจากเพื่อนในโรงเรียนอนุบาลหรือเพื่อนบ้านวัยเดียวกันแต่เด็กวัยนี้ ยังเข้าใจถึงความถูกต้องและความไม่ลึกซึ้งนักดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้เด็กวัยนี้ ได้พัฒนาในเรื่องการยอมรับการแยกตัวจากพ่อแม่ฝึกให้มีความเชื่อมั่นเมื่ออยู่กับคนอื่นให้เด็กเข้าใจระเบียบและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ฝึกให้รู้จักการแบ่งปันและการผลัดเปลี่ยนกันและรู้จักอดใจรอในโอกาสอันควร
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
พีอาเจต์ มองการเล่นเป็นกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญา ซึ่งกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญาและลักษณะของการเล่นจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การเล่นของเด็กจะเริ่มโดยใช้ประสาทสัมผัส (sensorimotor system) ซึ่งจะเป็นไปในลักษณะสำรวจและจะยุติลงเมื่ออายุประมาณสองขวบ ต่อมาเด็กจะเล่นเกี่ยวกับการสร้าง (constructive play) เด็กจะเริ่มรู้จักนำเอาสิ่งของมาสร้างให้เป็นสิ่งต่างๆขึ้นมา ส่วนการเล่นโดยใช้สัญลักษณ์ (symbolic play) จะเกิดในช่วงที่เด็กมีอายุปลายๆสองขวบ และจะพัฒนาได้เต็มที่เมื่ออายุได้ประมาณ 3–4 ขวบ
ทฤษฏีพัฒนาการทางด้านจริยธรรมของมนุษย์
ในเรื่องของคุณงามความดีหรือจริยธรรมนั้น ได้มีการศึกษาค้นคว้ากันมาตั้งแต่สมัยต้นๆแล้ว นักทฤษฏีด้านจริยธรรมบางท่านก็เชื่อว่าสังคมมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อพัฒนาการของบุคคลพวกนี้จึงเชื่อว่า คนต่างกลุ่มต่างสังคมย่อมมีจริยธรรมที่แตกต่างกัน ดังที่เกสเสล (Gessel) กล่าวไว้ว่า “ทารกไม่ได้เกิดมาพร้อมกับมีจริยธรรมหรือศีลธรรมประจำใจติดตัวมา การที่ทารกจะพัฒนาไปแล้วรู้ว่าสิ่งใดผิด สิ่งใดถูก สิ่งใดดี สิ่งใดเลว สิ่งใดควรประพฤติ ปฏิบัติ เกิดจากการอบรมในภายหลัง” โดยพัฒนาการทางจริยธรรมจะมี 2 แบบ
1. ไม่ทำ เพราะรู้ว่าไม่ดี และทำเพราะว่ารู้ว่าดี เป็นสิ่งที่เกิดจากแรงภายใน
2. ไม่ทำ เพราะรู้ว่า ถ้าทำจะถูกลงโทษและจะทำ เพราะถ้าทำแล้วจะได้รับรางวัลเป็นการตอบแทน เป็นแรงจากภายนอก
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir chxng wiliyam frits piyaaech frngess Jean William Fritz Piaget xxkesiyng ʒɑ pjaʒɛ 6 singhakhm kh s 1896 16 knyayn kh s 1980 nkcitwithyachawswis michuxesiyngcakkarsuksaphthnakarthangpyyakhxngedk odyidsrupxxkmaepn Piaget s theory of cognitive development ruppnchxng piyaaech piyaaechekidthiemuxngenxchaaetl praethsswitesxraelnd cbpriyyaexkthangchiwwithya aethnmasnicthangcitwithya odyxasyprasbkarncakkareliyngluk 3 khn ekhaidefasngektaelabnthukphvtikrrmkhxngluk ekiywkbkickrrmthilukthaidhruxthaimidtamladbchwngxayu srupepnthvsdikhxngchxng piyaaech aebngphthnakarkhxngmnusyxxkepn 4 khn idaek khn sensorimotor stage tngaetaerkekidthung 2 khwb epnkhnkhxngkarichprasathsmphskhxngmnusy khn preoperational stage tngaetxayu 2 7 khwb epnkhnkxnkhwamkhidxyangepnehtuepnphl khn concrete operational stage tngaetxayu 7 11 khwb caerimekhaickhwamkhidthiepnechingrupthrrmxyangdi aelayngsamarthichkhwamkhidehtuphlmakkwawythiaelw mikarichehtuphlipaelaklb khn formal operational stage tngaetxayu 11 15 khwb mikarichkhwamkhidekhaic miehtumiphlinechingnamthrrm ekhaepnnkcitwithyaklumthiennkhwamrukhwamekhaic cognitive klawwa edk 3 5 khwb eriynruphvtikrrmthangsngkhmcakephuxninorngeriynxnubalhruxephuxnbanwyediywknaetedkwyni yngekhaicthungkhwamthuktxngaelakhwamimluksungnkdngnncungkhwrsngesrimihedkwyni idphthnaineruxngkaryxmrbkaraeyktwcakphxaemfukihmikhwamechuxmnemuxxyukbkhnxunihedkekhaicraebiybaelakdeknthtang fukihruckkaraebngpnaelakarphldepliynknaelaruckxdicrxinoxkasxnkhwr thvsdiphthnakarthangstipyya phixaect mxngkarelnepnkrabwnkarphthnathangstipyya sungkrabwnkarphthnathangstipyyaaelalksnakhxngkarelncaepnipinthisthangediywkn karelnkhxngedkcaerimodyichprasathsmphs sensorimotor system sungcaepnipinlksnasarwcaelacayutilngemuxxayupramansxngkhwb txmaedkcaelnekiywkbkarsrang constructive play edkcaerimrucknaexasingkhxngmasrangihepnsingtangkhunma swnkarelnodyichsylksn symbolic play caekidinchwngthiedkmixayuplaysxngkhwb aelacaphthnaidetmthiemuxxayuidpraman 3 4 khwb thvstiphthnakarthangdancriythrrmkhxngmnusy ineruxngkhxngkhunngamkhwamdihruxcriythrrmnn idmikarsuksakhnkhwaknmatngaetsmytnaelw nkthvstidancriythrrmbangthankechuxwasngkhmmixiththiphlxyangyingtxphthnakarkhxngbukhkhlphwknicungechuxwa khntangklumtangsngkhmyxmmicriythrrmthiaetktangkn dngthieksesl Gessel klawiwwa tharkimidekidmaphrxmkbmicriythrrmhruxsilthrrmpracaictidtwma karthitharkcaphthnaipaelwruwasingidphid singidthuk singiddi singidelw singidkhwrpraphvti ptibti ekidcakkarxbrminphayhlng odyphthnakarthangcriythrrmcami 2 aebb 1 imtha ephraaruwaimdi aelathaephraawaruwadi epnsingthiekidcakaerngphayin 2 imtha ephraaruwa thathacathuklngothsaelacatha ephraathathaaelwcaidrbrangwlepnkartxbaethn epnaerngcakphaynxk bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk