ฌ็อง-ปอล มารา (ฝรั่งเศส: Jean-Paul Marat) เป็นนักทฤษฎีการเมือง แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเขียนบทความทางการเมืองฝ่ายซ้ายจัดลงในหนังสือพิมพ์ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสื่อมวลชนหัวซ้ายจัดที่สุดในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นกระบอกเสียงให้สำคัญแก่พวกซ็อง-กูว์ล็อต (ชนชั้นกลางและล่าง) ผ่านใบปลิว ป้ายประกาศ หนังสือพิมพ์ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ ลามีดูว์เปิปล์ ("เพื่อนประชาชน") ซึ่งช่วยทำให้เขามีเส้นสายกับกลุ่มลามงตาญในสโมสรฌากอแบ็ง ซึ่งกลุ่มนี้ก้าวขึ้นมามีอำนาจในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1793
ฌ็อง-ปอล มารา | |
---|---|
เกิด | 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1743 รัฐเนอชาแตล, ปรัสเซีย |
เสียชีวิต | 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1793 กรุงปารีส ฝรั่งเศส | (50 ปี)
สาเหตุเสียชีวิต | ลอบสังหาร |
อาชีพ | นักหนังสือพิมพ์, นักการเมือง, แพทย์, นักวิทยาศาสตร์ |
พรรคการเมือง | สโมสรฌากอแบ็ง (1789–1790) (1790–1793) |
มาราถูกสังหารโดยชาร์ล็อต กอร์แด ผู้ฝักใฝ่ฝ่ายฌีรงแด็ง เธอถูกประหารชีวิตในอีกสี่วันต่อมา หลังการเสียชีวิตของมารา มาราก็ถูกชูขึ้นเป็นมรณสักขีของสโมสรฌากอแบ็ง พิธีศพมีการยิงสลุตทุก 5 นาทีเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง
ประวัติ
ฌ็อง-ปอล มารา เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1743 ที่เมืองบูดรี ราชรัฐเนอชาแตล ในราชอาณาจักรปรัสเซีย (ปัจจุบันตั้งอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์) เป็นบุตรคนที่สองจากเก้าคนของฌ็อง มารา (หรือ โจวันนี มารา) บิดาของเขาเป็นผู้อพยพทางศาสนาที่หันมานับถือลัทธิคาลวินในนครเจนีวา เมื่อมารามีอายุได้ 16 ปี มาราตระหนักว่าการเป็นคนอพยพในแคว้นนี้ทำให้โอกาสของเขาถูกปิดกั้น ดังนั้นมาราจึงออกจากบ้านเพื่อแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ แม้จะเป็นคนที่มีการศึกษาสูงแต่มาราก็ถูกปฏิเสธจากวิทยาลัยหลายแห่ง เขาจึงย้ายไปปารีสและเข้าเรียนการแพทย์ที่นั่นโดยไม่ได้รับใบประกาศรับรองใด ๆ เลย
ในปี ค.ศ. 1765 เขาจึงย้ายไปยังกรุงลอนดอนและเริ่มประกอบอาชีพเป็นแพทย์ที่นั่น และได้เป็นเพื่อนกับอันเจลิคา คอฟมันน์ ศิลปินแห่งราชบัณฑิตยสถานศิลปะ ทำให้เขาเริ่มคบค้าสมาคมกับพวกสถาปนิกและศิลปินชาวอิตาลี ทำให้เขาเริ่มสนใจแนวคิดทางปัญญา งานเกี่ยวกับปรัชญา ตลอดจนทฤษฏีการเมือง
ในปี ค.ศ. 1770 มาราย้ายไปยังนิวคาสเซิลอะพอนไทน์และเริ่มงานเขียนทางการเมืองชิ้นแรกของเขา Chains of Slavery (ห่วงโซ่ของระบอบทาส) ในค.ศ. 1776 เขาก็เดินทางไปยังกรุงปารีสโดยแวะเยี่ยมครอบครัวที่นครเจนีวา ในค.ศ. 1777 เขาได้กลายเป็นแพทย์ประจำองครักษ์ในเคานต์แห่งอาร์ตัว (ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส)
ตั้งแต่ค.ศ. 1789 มาราเริ่มทำการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ที่ชื่อว่า ลามีดูว์เปิปล์ ("เพื่อนประชาชน") ซึ่งช่วยทำให้เขามีเส้นสายกับกลุ่มต่อต้านระบอบกษัตริย์ และทำให้งานพิมพ์ของเขากลายเป็นกระบอกเสียงสำคัญของชนชั้นล่างและชั้นกลางไป อย่างไรก็ตาม แนวความคิดของมาราค่อนข้างเป็นฝ่ายซ้ายแบบสุดโต่งเกินไป งานเขียนส่วนใหญ่ของเขามีลักษณะที่ปลูกฝังความเกลียดชังต่อชนชั้นนำ แต่นี่กลับเป็นบทความที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในฝรั่งเศสยุคนั้น บางส่วนของงานเขียนของมารากล่าวไว้ว่า "ห้าหกร้อยหัวที่ถูกตัดไปจะช่วยรับประกันความสงบ, อิสรภาพ และความสุขที่แท้จริง"
งานเขียนดังกล่าวทำให้มารากลายเป็นบุคคลที่ศัตรูมากขึ้นอย่างนับไม่ถ้วน ในช่วงปีค.ศ. 1790-1792 เขาต้องหนีไปหลบซ่อนตัวในท่อน้ำทิ้งและทำให้โรคผิวหนังเรื้อรังของเขาย่ำแย่ลง (คาดว่าเป็นโรคผิวหนังอักเสบจากเริม) หลังจากนั้นเขาแทบจะใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในอ่างน้ำใส่ยา
อ้างอิง
- Belfort Bax 2008, p.5.
- de Cock, J. & Goetz, C., Œuvres de Jean-Paul Marat, 10 volumes, Éditions Pôle Nord, Brussels, 1995.
- Conner, Clifford D. Jean Paul Marat: scientist and revolutionary, Humanities Press, New Jersey 1997 p.35
- Gregory Fremont-Barnes (2007). Encyclopedia of the age of political revolutions and new ideologies, 1760–1815: vol 1. Greenwood. pp. 1:450.
- Jelinek, J.E. (1979). "Jean-Paul Marat: The differential diagnosis of his skin disease". American Journal of Dermatopathology. 1 (3): 251–52. doi:10.1097/00000372-197900130-00010. PMID 396805.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chxng pxl mara frngess Jean Paul Marat epnnkthvsdikaremuxng aephthy aelankwithyasastrchawfrngess michuxesiyngkhunmacakkarekhiynbthkhwamthangkaremuxngfaysaycdlnginhnngsuxphimphinchwngkarptiwtifrngess ekhaepnhnunginsuxmwlchnhwsaycdthisudinchwngkarptiwtifrngess ekhaepnkrabxkesiyngihsakhyaekphwksxng kuwlxt chnchnklangaelalang phanibpliw payprakas hnngsuxphimph odyechphaahnngsuxphimph lamiduwepipl ephuxnprachachn sungchwythaihekhamiesnsaykbklumlamngtayinsomsrchakxaebng sungklumnikawkhunmamixanacineduxnmithunayn kh s 1793chxng pxl maraekid24 phvsphakhm kh s 1743 1743 05 24 rthenxchaaetl prsesiyesiychiwit13 krkdakhm kh s 1793 1793 07 13 50 pi krungparis frngesssaehtuesiychiwitlxbsngharxachiphnkhnngsuxphimph nkkaremuxng aephthy nkwithyasastrphrrkhkaremuxngsomsrchakxaebng 1789 1790 1790 1793 marathuksngharodycharlxt kxraed phufkiffaychirngaedng ethxthukpraharchiwitinxiksiwntxma hlngkaresiychiwitkhxngmara marakthukchukhunepnmrnskkhikhxngsomsrchakxaebng phithisphmikaryingslutthuk 5 nathiepnewlahnungchwomngprawtikarlxbsnghar chxng pxl mara chxng pxl mara ekidemuxwnthi 24 phvsphakhm kh s 1743 thiemuxngbudri rachrthenxchaaetl inrachxanackrprsesiy pccubntngxyuinswitesxraelnd epnbutrkhnthisxngcakekakhnkhxngchxng mara hrux ocwnni mara bidakhxngekhaepnphuxphyphthangsasnathihnmanbthuxlththikhalwininnkhrecniwa emuxmaramixayuid 16 pi maratrahnkwakarepnkhnxphyphinaekhwnnithaihoxkaskhxngekhathukpidkn dngnnmaracungxxkcakbanephuxaeswnghaoxkasihm aemcaepnkhnthimikarsuksasungaetmarakthukptiesthcakwithyalyhlayaehng ekhacungyayipparisaelaekhaeriynkaraephthythinnodyimidrbibprakasrbrxngid ely inpi kh s 1765 ekhacungyayipyngkrunglxndxnaelaerimprakxbxachiphepnaephthythinn aelaidepnephuxnkbxneclikha khxfmnn silpinaehngrachbnthitysthansilpa thaihekhaerimkhbkhasmakhmkbphwksthapnikaelasilpinchawxitali thaihekhaerimsnicaenwkhidthangpyya nganekiywkbprchya tlxdcnthvstikaremuxng inpi kh s 1770 marayayipyngniwkhasesilxaphxnithnaelaerimnganekhiynthangkaremuxngchinaerkkhxngekha Chains of Slavery hwngoskhxngrabxbthas inkh s 1776 ekhakedinthangipyngkrungparisodyaewaeyiymkhrxbkhrwthinkhrecniwa inkh s 1777 ekhaidklayepnaephthypracaxngkhrksinekhantaehngxartw sungtxmaidkhunkhrxngrachyepnphraecacharlthi 10 aehngfrngess tngaetkh s 1789 maraerimthakartiphimphhnngsuxphimphthichuxwa lamiduwepipl ephuxnprachachn sungchwythaihekhamiesnsaykbklumtxtanrabxbkstriy aelathaihnganphimphkhxngekhaklayepnkrabxkesiyngsakhykhxngchnchnlangaelachnklangip xyangirktam aenwkhwamkhidkhxngmarakhxnkhangepnfaysayaebbsudotngekinip nganekhiynswnihykhxngekhamilksnathiplukfngkhwamekliydchngtxchnchnna aetniklbepnbthkhwamthiidrbkhwamniymepnxyangmakinfrngessyukhnn bangswnkhxngnganekhiynkhxngmaraklawiwwa hahkrxyhwthithuktdipcachwyrbpraknkhwamsngb xisrphaph aelakhwamsukhthiaethcring nganekhiyndngklawthaihmaraklayepnbukhkhlthistrumakkhunxyangnbimthwn inchwngpikh s 1790 1792 ekhatxnghniiphlbsxntwinthxnathingaelathaihorkhphiwhnngeruxrngkhxngekhayaaeylng khadwaepnorkhphiwhnngxkesbcakerim hlngcaknnekhaaethbcaichchiwitswnihyxyuinxangnaisyaxangxingBelfort Bax 2008 p 5 de Cock J amp Goetz C Œuvres de Jean Paul Marat 10 volumes Editions Pole Nord Brussels 1995 Conner Clifford D Jean Paul Marat scientist and revolutionary Humanities Press New Jersey 1997 p 35 Gregory Fremont Barnes 2007 Encyclopedia of the age of political revolutions and new ideologies 1760 1815 vol 1 Greenwood pp 1 450 Jelinek J E 1979 Jean Paul Marat The differential diagnosis of his skin disease American Journal of Dermatopathology 1 3 251 52 doi 10 1097 00000372 197900130 00010 PMID 396805 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk