บทความนี้ไม่มีจาก |
ซาร์ยา (อังกฤษ: Zarya ในภาษารัสเซียแปลว่า รุ่งอรุณ) เป็นส่วนประกอบแรกของสถานีอวกาศนานาชาติ (อังกฤษ: International Space Station; ISS)
ข้อมูลทั่วไป
ทำหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้าขับเคลื่อนและนำทางการประกอบในช่วงต้น ตอนนี้ทำหน้าที่เป็นโมดูลสำหรับเก็บของทั้งด้านในโมดูลและถังน้ำมันด้านนอก มีน้ำหนัก 19,300 กิโลกรัม (42,600 ปอนด์) ยาว 12.55 เมตร (41.2 ฟุต) ส่วนกว้างที่สุด 4.1 เมตร (13.5 ฟุต) ถูกพัฒนามาจากยานอวกาศซัลยุต สร้างขึ้นที่สถานีวิจัยและอุตสหกรรมทางอวกาศครุนนิเชฟ (ภาษาอังกฤษ Khrunichev State Research and Production Space Center; KhSC) ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย แต่บางส่วนผลิตขึ้นโดยบริษัทลอคฮีดของสหรัฐอเมริกา ส่วนผู้ออกเงินและเป็นเจ้าของจริงๆ ก็คือสหรัฐอเมริกา ใช้เวลาในการสร้างตั้งแต่ ธันวาคม ค.ศ. 1994 - มกราคม ค.ศ. 1998 มีท่าเทียบจอด 3 จุด คือด้านหน้าใช้สำหรับเชื่อมต่อกับยาน Unity Module ด้านหลังใช้สำหรับเชื่อมต่อกับยาน Zvezda ด้านข้างใช้สำหรับเชื่อมต่อกับยานโซยูซ หรือ ยานโปรเกรซ ของรัสเซีย หรือ Docking Cargo Module
ซาร์ยามีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ 2 อัน เพื่อใช้ในการผลิตพลังงานทางด้านข้าง ขนาด 10.67 เมตร คูณ 3.35 เมตร และแบตเตอรรี่ชนิด nickel-cadmium 6 ตัว ที่ให้พลังงานราว 3 กิโลวัตต์ ซาร์ยาถูกส่งจากพื้นโลกขึ้นไปยังอวกาศโดยจรวดโปรตอน ของประเทศรัสเซีย ที่ฐานยิงจรวด Baikonur Cosmodrome ประเทศคาซัคสถาน เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 ไปที่ความสูง 400 กิโลเมตร (250 ไมล์) และออกแบบมาให้ใช้งานได้นานอย่างน้อย 15 ปี และในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1998 กระสวยอวกาศ Endeavour ได้นำส่ง Unity module ที่ทำขึ้นโดยสหรัฐอเมริกาไปเชื่อมต่อ แล้วต้องรอนานเกือบ 6 ปี (ล่าช้าจากที่วางแผน 1 ปีครึ่ง) ส่วน Zvezda Module ที่ทำขึ้นโดยรัสเซีย ได้ไปเชื่อมต่อเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2000
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sarya xngkvs Zarya inphasarsesiyaeplwa rungxrun epnswnprakxbaerkkhxngsthanixwkasnanachati xngkvs International Space Station ISS phaphphkhxngsaryainxwkaskhxmulthwipthahnathiphlitkraaesiffakhbekhluxnaelanathangkarprakxbinchwngtn txnnithahnathiepnomdulsahrbekbkhxngthngdaninomdulaelathngnamndannxk minahnk 19 300 kiolkrm 42 600 pxnd yaw 12 55 emtr 41 2 fut swnkwangthisud 4 1 emtr 13 5 fut thukphthnamacakyanxwkasslyut srangkhunthisthaniwicyaelaxutshkrrmthangxwkaskhrunniechf phasaxngkvs Khrunichev State Research and Production Space Center KhSC thikrungmxsok praethsrsesiy aetbangswnphlitkhunodybristhlxkhhidkhxngshrthxemrika swnphuxxkenginaelaepnecakhxngcring kkhuxshrthxemrika ichewlainkarsrangtngaet thnwakhm kh s 1994 mkrakhm kh s 1998 mithaethiybcxd 3 cud khuxdanhnaichsahrbechuxmtxkbyan Unity Module danhlngichsahrbechuxmtxkbyan Zvezda dankhangichsahrbechuxmtxkbyanosyus hrux yanoprekrs khxngrsesiy hrux Docking Cargo Module saryamiaephngrbphlngnganaesngxathity 2 xn ephuxichinkarphlitphlngnganthangdankhang khnad 10 67 emtr khun 3 35 emtr aelaaebtetxrrichnid nickel cadmium 6 tw thiihphlngnganraw 3 kiolwtt saryathuksngcakphunolkkhunipyngxwkasodycrwdoprtxn khxngpraethsrsesiy thithanyingcrwd Baikonur Cosmodrome praethskhaskhsthan emuxwnthi 20 phvscikayn kh s 1998 ipthikhwamsung 400 kiolemtr 250 iml aelaxxkaebbmaihichnganidnanxyangnxy 15 pi aelainwnthi 4 thnwakhm kh s 1998 kraswyxwkas Endeavour idnasng Unity module thithakhunodyshrthxemrikaipechuxmtx aelwtxngrxnanekuxb 6 pi lachacakthiwangaephn 1 pikhrung swn Zvezda Module thithakhunodyrsesiy idipechuxmtxemuxwnthi 12 krkdakhm kh s 2000