ไม้กลายเป็นหิน (อังกฤษ: petrified wood) คือซากดึกดำบรรพ์ของพืชประเภทหนึ่ง เกิดขึ้นจากท่อนไม้ถูกฝังกลบอยู่ใต้ผิวดินในสภาพที่ขาดออกซิเจนทำให้เนื้อไม้ไม่เน่าเปื่อย และถูกฝังแช่อยู่ในสารละลายซิลิก้าที่มีความเข้มข้นสูงเพียงพอ ในสภาพแวดล้อมที่ท่อนไม้และสารละลายซิลิกาได้สัมผัสกับออกซิเจนเป็นบางช่วงเวลาทำให้สารละลายซิลิกาตกตะกอนในรูปของซิลิกาเจล สะสมตัวแทนที่โมเลกุลของเนื้อไม้ (replacement) จนทำให้ท่อนไม้ที่เป็นเนื้อสารอินทรีย์เปลี่ยนไปเป็นเนื้อหินซิลิกาแต่ยังคงรักษาดั้งเดิมเอาไว้
ด้วยระยะเวลานับเป็นหมื่นเป็นแสนปีหรือมากกว่านี้ ไม้กลายเป็นหินจะค่อย ๆ สูญเสียน้ำทีละน้อยและค่อย ๆ พัฒนาเป็นโอปอลที่มีสีสันสวยงามได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมลทินซึ่งเป็นแร่ธาตุที่ปะปนอยู่ในเนื้อของซิลิกาออกไซด์ ซึ่งแร่ธาตุต่าง ๆ ให้สีสันต่าง ๆ กันไป เช่น
แหล่งไม้กลายเป็นหินในประเทศไทย
มีรายงานการค้นพบไม้กลายเป็นหินในประเทศไทยหลายแห่ง ทั้งที่มีอายุเก่าแก่ถึงยุคไทรแอสซิกที่อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ได้รับการศึกษาวิจัยโดยนักบรรพชีวินวิทยาพืชชาวญี่ปุ่นว่า เป็นไม้สนสกุล (Araucarioxylon sp.) และยังมีรายงานการค้นพบกระจัดกระจายในชั้นหินมหายุคมีโซโซอิกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ที่เป็นที่มาของการก่อสร้างและพัฒนาเป็น และพัฒนาเป็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
แหล่งไม้กลายเป็นหินขนาดใหญ่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 30 ตารางกิโลเมตรถูกค้นพบในเขตวนอุทยานไม้กลายเป็นหิน (Bantak Petrified Forest Park) อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก จากการสำรวจขุดค้นพบว่าท่อนไม้กลายเป็นหินฝังตัวอยู่ใต้ชั้นกรวดยุคควอเทอร์นารีซึ่งเป็นกรวดแม่น้ำโดยพิจารณาจากความเรียบและกลมมนของเม็ดกรวด จากการสำรวจภาคพื้นดินพบท่อนไม้โผล่ให้เห็นหลายสิบท่อน และได้มีการขุดขึ้นมาเพื่อจัดแสดงและพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวแล้วจำนวน 8 ท่อนจากจำนวน 7 หลุมขุดค้น จากการวิจัยพบว่าเป็นไม้ทองบึ้ง (Koompassioxylon elegans) จำนวน 6 ท่อน และไม้มะค่าโมง (Pahudioxylon sp.) จำนวน 2 ท่อน (วิฆเนศ ทรงธรรม 2553) ถือว่าเป็นแหล่งไม้กลายเป็นหินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
อ้างอิง
- วิฆเนศ ทรงธรรม (2553) ธรณีวิทยาและบรรพชีวินวิทยาแหล่งไม้กลายเป็นหิน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก. กรมทรัพยากรธรณี สำนักคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ 68 หน้า
- Asama, K. (1973) Some younger Mesozoic plants from the Lom Sak Formation, Thailand. In T. Kobayashi and R. Toriyama (eds.), Geology and Palaeontology of Southeast Asia, pp. 39-46, Tokyo University Press, Japan.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
imklayepnhin xngkvs petrified wood khuxsakdukdabrrphkhxngphuchpraephthhnung ekidkhuncakthxnimthukfngklbxyuitphiwdininsphaphthikhadxxksiecnthaihenuximimenaepuxy aelathukfngaechxyuinsarlalaysilikathimikhwamekhmkhnsungephiyngphx insphaphaewdlxmthithxnimaelasarlalaysilikaidsmphskbxxksiecnepnbangchwngewlathaihsarlalaysilikatktakxninrupkhxngsilikaecl sasmtwaethnthiomelkulkhxngenuxim replacement cnthaihthxnimthiepnenuxsarxinthriyepliynipepnenuxhinsilikaaetyngkhngrksadngedimexaiw dwyrayaewlanbepnhmunepnaesnpihruxmakkwani imklayepnhincakhxy suyesiynathilanxyaelakhxy phthnaepnoxpxlthimisisnswyngamid thngnikhunxyukbmlthinsungepnaerthatuthipapnxyuinenuxkhxngsilikaxxkisd sungaerthatutang ihsisntang knip echn kharbxn ih sida okhbxlt ih siekhiyw naengin okhremiym ih siekhiyw naengin thxngaedng ih siekhiyw naengin ehlkxxkisd ih siaedng natal ehluxng aemngkanis ih sichmphu sm ih sida ehluxngaehlngimklayepnhininpraethsithyphiphithphnthimklayepnhin c nkhrrachsimaimklayepnhininwnxuthyanimklayepnhinbantak c tak hlumkhudkhnthi 1 epnimthxngbung Koompassioxylon elegans mirayngankarkhnphbimklayepnhininpraethsithyhlayaehng thngthimixayuekaaekthungyukhithraexssikthixaephxkuchinarayn cnghwdkalsinthu thiidrbkarsuksawicyodynkbrrphchiwinwithyaphuchchawyipunwa epnimsnskul Araucarioxylon sp aelayngmirayngankarkhnphbkracdkracayinchnhinmhayukhmiososxikinphakhtawnxxkechiyngehnux odyechphaaxyangyingthi xaephxemuxng cnghwdnkhrrachsima thiepnthimakhxngkarkxsrangaelaphthnaepn aelaphthnaepnsthabnwicyimklayepnhinaelathrphyakrthrniphakhtawnxxkechiyngehnux echlimphraekiyrti mhawithyalyrachphtnkhrrachsima aehlngimklayepnhinkhnadihykhrxbkhlumphunthimakkwa 30 tarangkiolemtrthukkhnphbinekhtwnxuthyanimklayepnhin Bantak Petrified Forest Park xaephxbantak cnghwdtak cakkarsarwckhudkhnphbwathxnimklayepnhinfngtwxyuitchnkrwdyukhkhwxethxrnarisungepnkrwdaemnaodyphicarnacakkhwameriybaelaklmmnkhxngemdkrwd cakkarsarwcphakhphundinphbthxnimophlihehnhlaysibthxn aelaidmikarkhudkhunmaephuxcdaesdngaelaphthnaepnaehlngthxngethiywaelwcanwn 8 thxncakcanwn 7 hlumkhudkhn cakkarwicyphbwaepnimthxngbung Koompassioxylon elegans canwn 6 thxn aelaimmakhaomng Pahudioxylon sp canwn 2 thxn wikhens thrngthrrm 2553 thuxwaepnaehlngimklayepnhinthiihythisudinpraethsithyxangxingwikhens thrngthrrm 2553 thrniwithyaaelabrrphchiwinwithyaaehlngimklayepnhin xaephxbantak cnghwdtak krmthrphyakrthrni sankkhumkhrxngsakdukdabrrph 68 hna Asama K 1973 Some younger Mesozoic plants from the Lom Sak Formation Thailand In T Kobayashi and R Toriyama eds Geology and Palaeontology of Southeast Asia pp 39 46 Tokyo University Press Japan