ซากดึกดำบรรพ์ของละอองเรณูและสปอร์ (อังกฤษ: sporopollen fossil) เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่มีความสำคัญและมีประโยชน์ในการศึกษาเกี่ยวกับประวัติวิวัฒนาการของพืช และรวมถึงประโยชน์ทางธรณีวิทยาเป็นอย่างมาก เมื่อดอกไม้ร่วงหล่นลงสู่โคนต้นและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ละอองเรณูจะถูกเก็บรักษาไว้ในชั้นตะกอน และในเวลาต่อมาทางธรณีวิทยาชั้นตะกอนได้เปลี่ยนเป็นชั้นหิน จึงทำให้พบซากดึกดำบรรพ์ละอองเรณูของพืชดังกล่าวอยู่ในชั้นหินนั้น โดยทั่วไปเรณูสัณฐาน (pollen morphology) ดังกล่าวจะยังคงรักษาลักษณะหลายประการจึงสามารถตรวจพิสูจน์ได้ว่าเรณูสัณฐานนั้นเป็นของพืชชนิดใด อย่างไรก็ตามเรณูสัณฐานในชั้นหินหนึ่งๆมักจะแบนราบขนานไปกับแนวการวางตัวของชั้นหิน
เรณูสัณฐานของซากดึกดำบรรพ์ละอองเรณูที่นำมายกเป็นตัวอย่างชื่อ ไอเล็กพอลเลนนิทีส ไอลิเอคัส(Ilexpollenites iliacus) จากเหมืองลิกไนต์บ้านป่าคา อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน มีลักษณะคล้ายลูกรักบี้ มีร่องเปิดรูปรี () จำนวน 3 ร่อง ตรงกลางร่องเปิดมีรูเปิด () เรียกช่องเปิดนี้แบบผสม(3-colporoidate) บนพื้นผิวของเรณูสัณฐานเรียงรายไปด้วยเม็ดตุ่มฐานเล็กส่วนปลายพองบวมออก () ลักษณะของเรณูสัณฐานนี้เปรียบเทียบได้ดีกับละอองเรณูของพืชปัจจุบันสกุล (Ilex spp.) ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ที่เจริญเติบโตได้ดีในที่ที่มีความชุ่มชื้นสูง การปรากฏของ ไอเล็กพอลเลนนิทีส ไอลิเอคัส อยู่ในชั้นหินนี้ พบปรากฏร่วมกับเรณูสัณฐานอื่นๆอีกมาก ทั้งของพวกสน ไม้ดอก เฟิน และสาหร่าย โดยรวมถึงเรณูสัณฐานของพืชน้ำอย่างเช่น กระจับ (สปอโรทราปอดิทีส) ทำให้ทราบได้ว่าเหมืองบ้านป่าคาเมื่อหลายล้านปีก่อนมีสภาพเป็นหนองน้ำและมีป่าไม้อยู่โดยรอบ และภูมิอากาศเป็นแบบเขตอบอุ่น
สำหรับซากดึกดำบรรพ์สปอร์ (อังกฤษ: spore fossil) เป็นเซลล์สืบพันธุ์ของพืชที่ไม่มีดอก ได้แก่ เฟิน(fern) และพืชชั้นต่ำ(Bryophyta)โดยทั่วไป เป็นต้น ในที่นี้ขอยกตัวอย่างจำพวกเฟิน กลุ่มของสปอร์จะอยู่ในอับสปอร์ใต้ใบเฟิน เมื่อสปอร์แก่เต็มที่อับสปอร์จะแตกออกและสปอร์จะร่วงหล่นลงไปโดยเฉพาะบริเวณที่มีความชุ่มชื้นสูง สปอร์จะพัฒนาเป็นแผ่นโปรทัลลัส และแผ่นโปรทัลลัสนี้จะสร้างสเปิร์มและไข่ขึ้นมา เมื่อสเปิร์มปฏิสนธิกับไข่แล้วก็จะพัฒนาเป็นไรโซมและต้นเฟินอ่อน เมื่อแก่หรือมีอายุโตเต็มที่พร้อมสืบพันธุ์ใต้ใบเฟินบางใบจะมีสปอร์เกิดขึ้นเป็นวัฏจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันไป
สำหรับตัวอย่างสปอร์สัณฐาน ชื่อ แครสโซเรติไทรลิทีส แวนแรดชูเวนิไอ (Crassoretitriletes vanraadshoovenii) จากเหมืองลิกไนต์เชียงม่วน จังหวัดพะเยา มีลักษณะเกือบทรงกลม ที่ด้านหนึ่งของลูกสปอร์มีร่องสามแฉก(trilete) พื้นผิวสปอร์เป็นลายตาข่ายแบบร่างแห ลายเส้นตาข่ายหนาขนาดประมาณเท่ากับขนาดรูเปิดตาข่าย ลักษณะของสปอร์สัณฐานนี้เปรียบเทียบได้ดีกับสปอร์ของเฟินปัจจุบันชื่อ กระฉอด (Lygodium microphyllum) เป็นเฟินที่พบทั่วไปในป่าเขตร้อนถึงกึ่งร้อนที่เป็นพื้นที่ชื้น สปอร์สัณฐานนี้พบในชั้นหินอายุหลายล้านปีร่วมกับเรณูสัณฐานของพืชเขตร้อนอีกหลายชนิด ทำให้ทราบได้ว่าพื้นที่เชียงม่วนก่อนนั้นมีภูมิอากาศแบบเขตร้อน อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าดิบ
อ้างอิง
- ,L., Songtham, W., , B., , M., , D.C., , S., and , W. (2005) evolution in northern Thailand: a palynological point of view. Nat. Hist. Siam Soc. 53 (1) : 17-32.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sakdukdabrrphkhxnglaxxngernuaelaspxr xngkvs sporopollen fossil epnsakdukdabrrphthimikhwamsakhyaelamipraoychninkarsuksaekiywkbprawtiwiwthnakarkhxngphuch aelarwmthungpraoychnthangthrniwithyaepnxyangmak emuxdxkimrwnghlnlngsuokhntnaelaxyuinsphaphaewdlxmthiehmaasm laxxngernucathukekbrksaiwinchntakxn aelainewlatxmathangthrniwithyachntakxnidepliynepnchnhin cungthaihphbsakdukdabrrphlaxxngernukhxngphuchdngklawxyuinchnhinnn odythwipernusnthan pollen morphology dngklawcayngkhngrksalksnahlayprakarcungsamarthtrwcphisucnidwaernusnthannnepnkhxngphuchchnidid xyangirktamernusnthaninchnhinhnungmkcaaebnrabkhnanipkbaenwkarwangtwkhxngchnhin ernusnthankhxngsakdukdabrrphlaxxngernuthinamaykepntwxyangchux ixelkphxlelnnithis ixliexkhs Ilexpollenites iliacus cakehmuxnglikintbanpakha xaephxli cnghwdlaphun milksnakhlaylukrkbi mirxngepidrupri canwn 3 rxng trngklangrxngepidmiruepid eriykchxngepidniaebbphsm 3 colporoidate bnphunphiwkhxngernusnthaneriyngrayipdwyemdtumthanelkswnplayphxngbwmxxk lksnakhxngernusnthanniepriybethiybiddikblaxxngernukhxngphuchpccubnskul Ilex spp sungepnphnthuimthiecriyetibotiddiinthithimikhwamchumchunsung karpraktkhxng ixelkphxlelnnithis ixliexkhs xyuinchnhinni phbpraktrwmkbernusnthanxunxikmak thngkhxngphwksn imdxk efin aelasahray odyrwmthungernusnthankhxngphuchnaxyangechn kracb spxorthrapxdithis thaihthrabidwaehmuxngbanpakhaemuxhlaylanpikxnmisphaphepnhnxngnaaelamipaimxyuodyrxb aelaphumixakasepnaebbekhtxbxun sahrbsakdukdabrrphspxr xngkvs spore fossil epnesllsubphnthukhxngphuchthiimmidxk idaek efin fern aelaphuchchnta Bryophyta odythwip epntn inthinikhxyktwxyangcaphwkefin klumkhxngspxrcaxyuinxbspxritibefin emuxspxraeketmthixbspxrcaaetkxxkaelaspxrcarwnghlnlngipodyechphaabriewnthimikhwamchumchunsung spxrcaphthnaepnaephnoprthlls aelaaephnoprthllsnicasrangsepirmaelaikhkhunma emuxsepirmptisnthikbikhaelwkcaphthnaepnirosmaelatnefinxxn emuxaekhruxmixayuotetmthiphrxmsubphnthuitibefinbangibcamispxrekidkhunepnwtckrhmunewiyntxenuxngknip sahrbtwxyangspxrsnthan chux aekhrsosertiithrlithis aewnaerdchuewniix Crassoretitriletes vanraadshoovenii cakehmuxnglikintechiyngmwn cnghwdphaeya milksnaekuxbthrngklm thidanhnungkhxnglukspxrmirxngsamaechk trilete phunphiwspxrepnlaytakhayaebbrangaeh layesntakhayhnakhnadpramanethakbkhnadruepidtakhay lksnakhxngspxrsnthanniepriybethiybiddikbspxrkhxngefinpccubnchux krachxd Lygodium microphyllum epnefinthiphbthwipinpaekhtrxnthungkungrxnthiepnphunthichun spxrsnthanniphbinchnhinxayuhlaylanpirwmkbernusnthankhxngphuchekhtrxnxikhlaychnid thaihthrabidwaphunthiechiyngmwnkxnnnmiphumixakasaebbekhtrxn xudmsmburnipdwypadibxangxing L Songtham W B M D C S and W 2005 evolution in northern Thailand a palynological point of view Nat Hist Siam Soc 53 1 17 32