ชุมชนแออัดคลองเตย เป็นชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตคลองเตย ทั้งที่อยู่ในบริเวณท่าเรือคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 432 ไร่ และพื้นที่ของหน่วยงานอื่น หรือพื้นที่เอกชน โดยเป็นชุมชนแออัดที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย
ชุมชนแออัดคลองเตย | |
---|---|
ชุมชนแออัดคลองเตย | |
ชุมชนแออัดคลองเตย | |
พิกัด: 13°43′17″N 100°33′46″E / 13.72139°N 100.56278°E | |
ประเทศ | ไทย |
เขตปกครองพิเศษ | กรุงเทพมหานคร |
เขต | คลองเตย |
แขวง | คลองเตย |
พื้นที่(432 ไร่) | |
• ทั้งหมด | 0.6912 ตร.กม. (0.2669 ตร.ไมล์) |
เขตเวลา | (อินโดจีน) |
รหัสไปรษณีย์ | 10110 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 103301 |
ประวัติ
นโยบายของรัฐบาลเน้นในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ มีการสร้างสาธารณูปโภค ถนน ไฟฟ้า ประปา ออกโฉนดกรรมสิทธิ์ที่ดินหลายพื้นที่ มีการจัดสรรที่ดินเกิดขึ้น เริ่มมีคนจนปลูกบ้านในที่ดินเช่า มีการอพยพจากชนบทเข้าสู่กรุงเทพ มีการเกิดธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มีการเก็บกำไรที่ดิน ส่งผลให้ที่ดินแพง ผู้อพยพมาไม่สามารถซื้อที่ดินได้ สร้างที่พักชั่วคราวหรือไม่ก็ปักหลักสร้างบ้านในที่ดินเปล่าของราชการ
ระหว่าง พ.ศ. 2481–2490 ช่วงที่การท่าเรือแห่งประเทศไทยก่อสร้างท่าเรือกรุงเทพ ทำให้มีความต้องการแรงงานจำนวนมาก จึงดึงแรงงานมาจากต่างจังหวัด และสร้างแคมป์ให้คนงานพัก บริเวณท่าเรือคลองเตยซึ่งเริ่มมีการเข้ามาอยู่อาศัยของชาวบ้านตั้งแต่ พ.ศ. 2505 เดิมทีมีประชาชนอาศัยอยู่ราว 200 ครอบครัว ทำมาหากินเลี้ยงหมู เลี้ยงเป็ดและปลูกผัก
การท่าเรือแห่งประเทศไทยยังไม่ได้สนใจที่จะควบคุมพื้นที่ เพราะบริเวณดังกล่าวเป็นที่ราบน้ำท่วมขัง ไม่มีไฟฟ้าประปาใช้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้เข้ามาดูแล ทำให้เริ่มมีการตั้งชุมชนแออัดทีละเล็กทีละน้อย เช่น ชุมชนวัดคลองเตย ชุมชนริมคลองสามัคคี ชุมชนอโยธา ชุมชนหลังอาคารทวิช เป็นต้น จน พ.ศ. 2507 การท่าเรือแห่งประเทศไทยเริ่มมีการขับไล่ชาวบ้านประมาณ 1,000 ครอบครัว เพื่อขยายท่าเทียบเรือไปทางทิศตะวันออก พ.ศ. 2511 ได้มีการขับไล่อีก 200 ครอบครัว เพื่อสร้างทางเข้าท่าเทียบเรือฝั่งตะวันออก
พ.ศ. 2515 ได้มีการจัดตั้งการเคหะแห่งชาติ กรุงเทพมหานครได้เข้าดำเนินการพัฒนาชุมชนแออัดและชุมชนบุกรุกเขตคลองเตยร่วมกับการเคหะแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2518
การท่าเรือพยายามแก้ปัญหาด้วยการรับเอาคนงานบางส่วนเข้าทำงานเป็นพนักงานการท่าเรือ และจัดสร้างบ้านพักเป็นห้องแถวริมถนนอาจณรงค์ แบ่งออกเป็นล็อก ๆ ละ 8 ห้อง รวม 12 ล็อก แต่ปรากฏว่าพนักงานเหล่านี้ได้ชักชวนแรงงานที่อพยพเข้ามาหางานทำกับฐานทัพอเมริกัน ให้เข้ามาปลูกสร้างบ้านพักชั่วคราวบริเวณหลังบ้านพนักงานการท่าเรือ เรียกที่อยู่อาศัยเหล่านี้ว่า ล็อก ตามล็อกห้องแถวบ้านพักพนักงานการท่าเรือ คือตั้งแต่ล็อก 1 ถึง ล็อก 12 การท่าเรือเริ่มใช้วิธีรุนแรงในการผลักดันชุมชนแออัดออกไปจากพื้นที่ เช่น นำเอาเลนที่เรือขุดดูดขึ้นมาจากสันดอน มาพ่นใส่พื้นที่ตั้งชุมชน ทำให้ชาวบ้านได้ย้ายออกไปในบริเวณใกล้เคียง อย่าง หลังบ้านพักพนักงานการท่าเรือ หรือชุมชนแออัดรอบ ๆ
พ.ศ. 2521 มีการทดลองจัดตั้งผู้นำชุมชนขึ้น โดยการแยกออกเป็น 18 ชุมชน
ปี พ.ศ. 2563 มีโครงการพัฒนาพื้นที่ จะใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้น 10 ปี จะตั้งอยู่บนพื้นที่ 58 ไร่ ซอยตรีมิตร ติดถนนริมทางรถไฟสายเก่า ด้านหลังติดริมคลองพระโขนง ประกอบด้วยคอนโดมิเนียม 4 อาคาร ความสูง 25 ชั้น
ชุมชน
ชุมชนแออัดคลองเตย ประกอบด้วยชุมชนที่อยู่ในพื้นที่หลายส่วน
ขุมชนในเขตพื้นที่ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย
- ชุมชนหมู่บ้านพัฒนา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 70 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 1,113 ครัวเรือน จำนวนประชากร 8,493 คน ประชาชนเช่าที่ดินจากการท่าเรือ
- ชุมชนแฟลต 1–10 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 44 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 2,098 ครัวเรือน จำนวนประชากร 8,390 คน ประชาชนเช่าที่ดินจากการเคหะแห่งชาติ
- ชุมชนแฟลต 11–18 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 32 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 1,140 ครัวเรือน จำนวนประชากร 7,000 คน ประชาชนเช่าที่ดินจากการเคหะแห่งชาติ
- ชุมชนแฟลต 19–22 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 17.5 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 530 ครัวเรือน จำนวนประชากร 2,584 คน ประชาชนเช่าที่ดินจากการเคหะแห่งชาติ
- ชุมชนแฟลต 23–24 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4.5 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 275 ครัวเรือน จำนวนประชากร 1,200 คน ประชาชนเช่าที่ดินจากการเคหะแห่งชาติ
- ชุมชนคลองเตยล็อก 1–2–3 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 41 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 1,800 ครัวเรือน จำนวนประชากร 7,126 คน ประชาชนบุกรุกพื้นที่จากการท่าเรือ
- ชุมชนคลองเตยล็อก 4–5–6 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 21 ไร่ จากข้อมูล พ.ศ. 2548 มีประชากรอาศัย 1,000 ครัวเรือน จำนวนประชากร 3,000 คน ประชาชนบุกรุกพื้นที่จากการท่าเรือ
- ชุมชนคลองเตยล็อก 7–8–9–10–11–12 มีจำนวน 372 ครอบครัว ประชาชนบุกรุกพื้นที่จากการท่าเรือ
นอกจากจะเป็นที่ตั้งของชุมชนแล้ว ยังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานพัฒนาเอกชนและมูลนิธิต่าง ๆ เช่น ดวงประทีป เด็กอ่อนในสลัม ศูนย์ Merci ศูนย์บริการด้านสุขภาพ ฯลฯ ยังมีโรงเรียนเอกชน 2 แห่ง สอนระดับประถมและมัธยมต้น และโรงเรียนของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งยังมีโรงรับจำนำของเอกชน 1 แห่ง
ชุมชนที่อยู่นอกพื้นที่ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย
- เป็นชุมชนที่ตั้งอยู่ติดกับตลาดคลองเตย
อ้างอิง
- วัชรพล ตั้งกอบลาภ. "พัฒนาการของนโยบายการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยในชุมนนแออัดคลองเตย กรุงเทพมหานคร" (PDF). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์.
- วชิรวิชญ์ กิติชาติพรพัฒน์. ""คนจำนวนมากถูกสังคมปฏิเสธ" สบตา 'ชุมชนคลองเตย' ผ่านมุมมองของคนนอกและบันทึกของคนใน". becommon.co.
- ""คลองเตย" ชุมชนนี้มีที่มา แต่ "ชาวชุมชนคลองเตย" วันนี้ (ยัง) ไม่มีที่ไป". คมชัดลึก.
- "ชุมชนคลองเตยล็อค 7-12:กรุงเทพฯ". สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).
- ""คนจนสร้างเมือง" และสิทธิที่จะอยู่ในเมือง !". ไทยโพสต์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chumchnaexxdkhlxngety epnchumchnthitngxyuinphunthiekhtkhlxngety thngthixyuinbriewnthaeruxkhlxngety ekhtkhlxngety krungethphmhankhr sungepnphunthikhxngkarthaeruxaehngpraethsithy khrxbkhlumphunthipraman 432 ir aelaphunthikhxnghnwynganxun hruxphunthiexkchn odyepnchumchnaexxdthiihythisudkhxngpraethsithychumchnaexxdkhlxngetychumchnaexxdchumchnaexxdkhlxngetychumchnaexxdkhlxngetyphikd 13 43 17 N 100 33 46 E 13 72139 N 100 56278 E 13 72139 100 56278praeths ithyekhtpkkhrxngphiess krungethphmhankhrekhtkhlxngetyaekhwngkhlxngetyphunthi 432 ir thnghmd0 6912 tr km 0 2669 tr iml ekhtewlaUTC 7 xinodcin rhsiprsniy10110rhsphumisastr103301prawtithaeruxkhlxngety ph s 2499 noybaykhxngrthbalenninkarphthnadanesrsthkic mikarsrangsatharnupophkh thnn iffa prapa xxkochndkrrmsiththithidinhlayphunthi mikarcdsrrthidinekidkhun erimmikhncnplukbaninthidinecha mikarxphyphcakchnbthekhasukrungethph mikarekidthurkicxsngharimthrphy mikarekbkairthidin sngphlihthidinaephng phuxphyphmaimsamarthsuxthidinid srangthiphkchwkhrawhruximkpkhlksrangbaninthidineplakhxngrachkar rahwang ph s 2481 2490 chwngthikarthaeruxaehngpraethsithykxsrangthaeruxkrungethph thaihmikhwamtxngkaraerngngancanwnmak cungdungaerngnganmacaktangcnghwd aelasrangaekhmpihkhnnganphk briewnthaeruxkhlxngetysungerimmikarekhamaxyuxasykhxngchawbantngaet ph s 2505 edimthimiprachachnxasyxyuraw 200 khrxbkhrw thamahakineliynghmu eliyngepdaelaplukphk karthaeruxaehngpraethsithyyngimidsnicthicakhwbkhumphunthi ephraabriewndngklawepnthirabnathwmkhng immiiffaprapaich hnwynganthiekiywkhxngimidekhamaduael thaiherimmikartngchumchnaexxdthilaelkthilanxy echn chumchnwdkhlxngety chumchnrimkhlxngsamkhkhi chumchnxoytha chumchnhlngxakharthwich epntn cn ph s 2507 karthaeruxaehngpraethsithyerimmikarkhbilchawbanpraman 1 000 khrxbkhrw ephuxkhyaythaethiyberuxipthangthistawnxxk ph s 2511 idmikarkhbilxik 200 khrxbkhrw ephuxsrangthangekhathaethiyberuxfngtawnxxk ph s 2515 idmikarcdtngkarekhhaaehngchati krungethphmhankhridekhadaeninkarphthnachumchnaexxdaelachumchnbukrukekhtkhlxngetyrwmkbkarekhhaaehngchati emux ph s 2518 karthaeruxphyayamaekpyhadwykarrbexakhnnganbangswnekhathanganepnphnkngankarthaerux aelacdsrangbanphkepnhxngaethwrimthnnxacnrngkh aebngxxkepnlxk la 8 hxng rwm 12 lxk aetpraktwaphnknganehlaniidchkchwnaerngnganthixphyphekhamahanganthakbthanthphxemrikn ihekhamapluksrangbanphkchwkhrawbriewnhlngbanphnkngankarthaerux eriykthixyuxasyehlaniwa lxk tamlxkhxngaethwbanphkphnkngankarthaerux khuxtngaetlxk 1 thung lxk 12 karthaeruxerimichwithirunaernginkarphlkdnchumchnaexxdxxkipcakphunthi echn naexaelnthieruxkhuddudkhunmacaksndxn maphnisphunthitngchumchn thaihchawbanidyayxxkipinbriewniklekhiyng xyang hlngbanphkphnkngankarthaerux hruxchumchnaexxdrxb ph s 2521 mikarthdlxngcdtngphunachumchnkhun odykaraeykxxkepn 18 chumchn pi ph s 2563 miokhrngkarphthnaphunthi caichrayaewlainkarkxsrangthngsin 10 pi catngxyubnphunthi 58 ir sxytrimitr tidthnnrimthangrthifsayeka danhlngtidrimkhlxngphraokhnng prakxbdwykhxnodmieniym 4 xakhar khwamsung 25 chnchumchnchumchnaexxdkhlxngety prakxbdwychumchnthixyuinphunthihlayswn khumchninekhtphunthikhxngkarthaeruxaehngpraethsithy chumchnhmubanphthna khrxbkhlumphunthipraman 70 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 1 113 khrweruxn canwnprachakr 8 493 khn prachachnechathidincakkarthaerux chumchnaeflt 1 10 khrxbkhlumphunthipraman 44 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 2 098 khrweruxn canwnprachakr 8 390 khn prachachnechathidincakkarekhhaaehngchati chumchnaeflt 11 18 khrxbkhlumphunthipraman 32 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 1 140 khrweruxn canwnprachakr 7 000 khn prachachnechathidincakkarekhhaaehngchati chumchnaeflt 19 22 khrxbkhlumphunthipraman 17 5 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 530 khrweruxn canwnprachakr 2 584 khn prachachnechathidincakkarekhhaaehngchati chumchnaeflt 23 24 khrxbkhlumphunthipraman 4 5 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 275 khrweruxn canwnprachakr 1 200 khn prachachnechathidincakkarekhhaaehngchati chumchnkhlxngetylxk 1 2 3 khrxbkhlumphunthipraman 41 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 1 800 khrweruxn canwnprachakr 7 126 khn prachachnbukrukphunthicakkarthaerux chumchnkhlxngetylxk 4 5 6 khrxbkhlumphunthipraman 21 ir cakkhxmul ph s 2548 miprachakrxasy 1 000 khrweruxn canwnprachakr 3 000 khn prachachnbukrukphunthicakkarthaerux chumchnkhlxngetylxk 7 8 9 10 11 12 micanwn 372 khrxbkhrw prachachnbukrukphunthicakkarthaerux nxkcakcaepnthitngkhxngchumchnaelw yngepnthitngkhxnghnwynganphthnaexkchnaelamulnithitang echn dwngprathip edkxxninslm suny Merci sunybrikardansukhphaph l yngmiorngeriynexkchn 2 aehng sxnradbprathmaelamthymtn aelaorngeriynkhxngkrungethphmhankhr rwmthngyngmiorngrbcanakhxngexkchn 1 aehng chumchnthixyunxkphunthikhxngkarthaeruxaehngpraethsithy epnchumchnthitngxyutidkbtladkhlxngetyxangxingwchrphl tngkxblaph phthnakarkhxngnoybaykaraekikhpyhathixyuxasyinchumnnaexxdkhlxngety krungethphmhankhr PDF culalngkrnmhawithyaly khnasthaptykrrmsastr wchirwichy kitichatiphrphthn khncanwnmakthuksngkhmptiesth sbta chumchnkhlxngety phanmummxngkhxngkhnnxkaelabnthukkhxngkhnin becommon co khlxngety chumchnnimithima aet chawchumchnkhlxngety wnni yng immithiip khmchdluk chumchnkhlxngetylxkh 7 12 krungethph sthabnphthnaxngkhkrchumchn xngkhkarmhachn khncnsrangemuxng aelasiththithicaxyuinemuxng ithyophst